SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
โคลนนิ่ง
จงอ่านบทความนี้แล้วตอบคาถาม (ข้อ 1- 4)
                                               เครื่องทาสาเนาสิ่งมีชีวิต
  ถ้ามีการเลือกยอดสัตว์แห่งปี พ.ศ. 2540 ดอลลีจะต้องได้รับตาแหน่งนี้อย่างแน่นอน ดอลลีเป็นแกะสัญชาติสก๊อตที่
  เห็นในรูปข้างล่างนี้ แต่ดอลลีไม่ใช่แกะธรรมดา ดอลลี่เป็นสาเนา (Clone) ของแกะอีกตัวหนึ่ง การโคลนนิ่ง
  (Cloning) หมายถึง การทาสาเนาจากต้นฉบับ นักวิทยาศาสตร์ประสบผลสาเร็จในการสร้างแกะ (ดอลลี) ให้
  เหมือนกับแกะที่เป็นต้นฉบับทุกอย่างนักวิทยาศาสตร์ชาวสก๊อตชื่อ เอียน วิลมุตเขาแยกเอานิวเคลียสออก แล้วก็ปลูก
      15
  ถ่า20 วเคลียสนี้ ลงไปในเซลล์ไข่ของแกะตัวเมียอีกตัวหนึ่ง (แกะตัวที่ 2)ที่แยกเอาสิ่งที่อาจเป็นตัวกาหนดคุณลักษณะ
      ยนิ
  ของแกะตัว่ ที่ 2 โคลนนิ่งว จากนั้นจึงนาไข่จากแกะตัวที่ 2 นี้ปลูกถ่ายลงในแกะตัวเมียอีกตัวหนึ่ง (แกะตัวที่ 3) แกะตัว
      คาถามที 1 : ออกแล้
  ที่ ดอลลีเองและคลอดลูกวออกมาเป็นดอลลี นักวิทยาศาสตร์บางคนคิดว่า ภายใน 2-3 ปีนี้เป็นไปได้ที่จะมีการโคลน
      3 ตั้งท้หมือนกับแกะตั ใด
  นิ่ง1. แกะตัวที่ ัฐ1
      มนุษย์ แต่ร บาลหลายประเทศได้ตัดสินใจออกกฎหมายห้ามการทาโคลนนิ่งมนุษย์แล้ว
      2. แกะตัวที่ 2
  เป็3.คนออกแบบเครื่องท(1 คะแนน) เขานา
   คน แกะตั1ที่ โคลนนิ่ง าสาเนาแกะ
       าถามที่ ว : 3
  ชิดอลลีอหมืๆนกับแกะตัวานมของแกะตัวเมียที่
    ้น4. วพ่ เ ของดอลลี อมน้ ใด
       ส่ นเล็กอ จากต่
  โตเต็มแกะตัว(แกะตัวที่ 1) จากชิ้นส่วนเล็กๆ นี้
       ก. ที่แล้ว ที่ 1
      คาถามที่ วที:่ โคลนนิ่ง
       ข. แกะตั2 2
       ค. แกะตัวที่ 3
      ในบทความบรรทัดที่ 11 ที่กล่าวถึงชิ้นส่วนของต่อมน้านมที่ใช้ ว่าเป็น “ชิ้นส่วนเล็กๆ”
       ง. พ่อของดอลลี


       คาถามที่ 2 : โคลนนิ่ง (1 คะแนน)
       จากการอ่านเรื่องทั้งหมด นักเรียนคิดว่า “ชิ้นส่วนเล็กๆ” นั้น หมายถึงอะไร
         ก. เซลล์
         ข. ยีน
         ค. นิวเคลียสของเซลล์
         ง. โครโมโซมข้อ                                                                                                By..Krupaw
      คาถามที่ 3-4 : โคลนนิ่ง
      ในประโยคสุดท้ายของบทความกล่าวว่า รัฐบาลหลายประเทศได้ตัดสินใจออกกฎหมายห้ามการโคลนนิ่ง
      มนุษย์แล้วในตารางข้างล่างคือเหตุผลสองประการที่อาจเป็นไปได้ของการตัดสินใจนี้เหตุผลเหล่านั้น เป็น
      เหตุผลทางวิทยาศาสตร์หรือไม่
      จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “เป็น” หรือ “ไม่เป็น” ในแต่ละข้อ
                                                                                                                   ชีววิทยาน่ารู้




                                  เหตุผล                                         เป็นวิทยาศาสตร์หรือไม่
      มนุษย์จากการโคลนนิ่งอาจติดโรคต่าง ๆ ได้ง่ายกว่ามนุษย์ธรรมดา              เป็น / ไม่เป็น
      มนุษย์ไม่ควรแย่งบทบาทของพระเจ้าผู้สร้างสิ่งมีชีวิต                       เป็น / ไม่เป็น


    Biologynsp.wordpress.com
พืชดัดแปลงพันธุกรรม



                                       ข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมควรถูกห้าม
กลุ่มอนุรักษ์พันธุ์พืชและสัตว์ป่ากาลังเรียกร้องให้ยกเลิกข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรม (GM) ข้าวโพดดัดแปลง
พันธุกรรม ถูกออกแบบมาเพื่อไม่ให้ถูกทา ลายโดยสารฆ่าวัชพืชชนิดใหม่ที่มี ประสิทธิภาพฆ่าข้าวโพดพันธุ์เดิมได้
สารฆ่าวัชพืชใหม่นี้จะฆ่าวัชพืชเกือบทุกชนิดในไร่ข้าวโพด นักอนุรักษ์บอกว่า เนื่องจากวัชพืชเป็นอาหารของสัตว์
เล็กๆ โดยเฉพาะแมลง การใช้สารฆ่าวัชพืชใหม่กับข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมจะเป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม แต่
ผู้สนับสนุนการใช้ข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมบอกว่า การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ได้แสดงว่าจะไม่เป็นเช่นนั้น
       ต่อไปนี้คือ รายละเอียดของการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่กล่าวถึงในบทความข้างบน:
       • มีการปลูกข้าวโพด 200 แปลงทั่วประเทศ
       • แต่ละแปลงถูกแบ่งเป็นสองส่วน ครึ่งหนึ่งปลูกข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรม (GM) ที่ใช้สารฆ่าวัชพืชใหม่ ส่วนอีก
       ครึ่งหนึ่งปลูกข้าวโพดพันธุ์เดิมที่ใช้สารฆ่าวัชพืชเดิม
       • จานวนแมลงที่พบในแปลงข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมที่ใช้สารฆ่าวัชพืชใหม่มีจานวนพอๆ กับแมลงในแปลงที่
       ปลูกข้าวโพดพันธุ์เดิมที่ใช้สารฆ่าวัชพืชเดิม




 คาถามที่ 1-2: พืชดัดแปลงพันธุกรรม
 การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่กล่าวถึงข้างต้น มีปัจจัยใดที่ตั้งใจทาให้แตกต่างกัน
 จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละปัจจัย

 การศึกษาตั้งใจทาให้ปัจจัยนี้แตกต่างกันหรือไม่                    ใช่ หรือ ไม่ใช่
 จานวนของแมลงในสิ่งแวดล้อม                                        ใช่ / ไม่ใช่
 ชนิดของสารฆ่าวัชพืชที่ใช้                                        ใช่ / ไม่ใช่
                                                                                                                  By..Krupaw


   คาถามที่ 3 : พืชดัดแปลงพันธุกรรม
   ข้าวโพดถูกปลูกในที่ต่างๆ 200 แปลงทั่วประเทศ เพราะเหตุใดนักวิทยาศาสตร์จึงใช้พื้นที่ปลูก
   มากกว่าหนึ่งแห่ง
        ก. เพื่อเกษตรกรจานวนมาก จะได้ลองปลูกข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรม
        ข. เพื่อดูว่าข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมจะเจริญเติบโตได้มากเพียงใด
                                                                                                                 ชีววิทยาน่ารู้




        ค. เพื่อให้ข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมครอบคลุมพื้นที่ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้
         ง. เพื่อให้มีสภาวะที่แตกต่างกันหลายๆ แบบในการเจริญเติบโตของข้าวโพด


     Biologynsp.wordpress.com
พฤติกรรมของปลาหลังหนาม

ปลาหลังหนามเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายในตู้ปลา




   • ในฤดูผสมพันธุ์ท้องของปลาหลังหนามตัวผู้จะเปลี่ยนจากสีเงินเป็นสีแดง
   • ปลาหลังหนามตัวผู้จะโจมตีคู่แข่งตัวผู้ตัวอื่นๆ ที่เข้ามาในบริเวณที่ครอบครองและพยายามขับไล่ออกไปจากบริเวณนั้น
   • ถ้ามีปลาตัวเมียสีเงินเข้ามาใกล้ ปลาตัวผู้จะพยายามนาปลาตัวเมียไปที่รังของตัวเอง เพื่อให้ปลาตัวเมียได้วางไข่
      นักเรียนคนหนึ่งทดลองเพื่อสารวจตรวจสอบว่า อะไรทาให้ปลาหลังหนามตัวผู้แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวในตู้ปลาของ
   นักเรียนได้เลี้ยงปลาหลังหนามตัวผู้ไว้หนึ่งตัว นักเรียนได้นาหุ่นของปลาที่ทาด้วยขี้ผึ้งสามแบบผูกติดไว้กับลวด เขาแขวน
   หุ่นปลาทั้งสามแบบแยกกันไว้ในตู้ปลาในระยะเวลาที่เท่ากัน แล้วนับจานวนครั้งที่ปลาตัวผู้แสดงปฏิกิริยาอย่างก้าวร้าว
   โดยการพุ่งใส่ปลาขี้ผึ้งผลการทดลองแสดงดังรูปข้างล่าง




                                                                                                                                                                                          By..Krupaw


      คาถามที่ 1 : พฤติกรรมของปลาหลังหนาม
      การทดลองนี้พยายามตอบคาถามอะไร
      ............................................................................................................................. ..................................................
      ...............................................................................................................................................................................
                                                                                                                                                                                         ชีววิทยาน่ารู้




      ............................................................................................................................. .................................................
      ............................................................................................................................. ...............................................



         Biologynsp.wordpress.com
ในช่วงของการผสมพันธุ์ ถ้าปลาหลังหนามตัวผู้เห็นปลาตัวเมีย มันจะพยายามดึงดูดตัวเมียโดยการ
 แสดงพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีซึ่งดูคล้ายกับการเต้นราเล็กๆ ในการทดลองครั้งที่สองได้สารวจตรวจสอบ
 พฤติกรรมเกี้ยวพาราสีนี้อีกครั้งที่ใช้หุ่นขี้ผึ้งสามแบบผูกติดกับลวด ตัวหนึ่งสีแดง อีกสองตัวสีเงินซึ่งตัว
 หนึ่งมีท้องแบน ส่วนอีกตัวท้องป่อง นักเรียนนับจานวนครั้ง (ในเวลาที่กาหนด) ที่ปลาหลังหนามตัวผู้
 แสดงปฏิกิริยาต่อหุ่นจาลองโดยแสดงพฤติกรรมเกี้ยวพาราสี ผลการทดลองแสดงดังรูปข้างล่าง




คาถามที่ 2 : พฤติกรรมของปลาหลังหนาม
นักเรียนสี่คนสรุปผลของตัวเองตามผลที่ได้จากการทดลองครั้งที่สองนี้ ข้อสรุปเหล่านี้
ถูกต้องตามข้อมูลที่ได้จากกราฟหรือไม่
จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อสรุป
ข้อสรุปนี้ถูกต้องตามข้อมูลที่ได้จากกราฟหรือไม่                             ใช่ หรือ ไม่ใช่
สีแดงก่อให้เกิดพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีของปลาหลังหนามตัวผู้                    ใช่ / ไม่ใช่
ปลาหลังหนามตัวเมียท้องแบน ทาให้ปลาหลังหนามตัวผู้แสดง                       ใช่ / ไม่ใช่
พฤติกรรมเกี้ยวพาราสีมากที่สุด
ปลาหลังหนามตัวผู้แสดงพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีกับปลาตัวเมีย                     ใช่ / ไม่ใช่
ท้องป่องมากกว่าปลาตัวเมียท้องแบน

                                                                                                            By..Krupaw
                                                                                                           ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
การทดลองได้แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวของปลาหลังหนามตัวผู้ต่อหุ่นปลาท้องสีแดง
           และแสดงพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีต่อหุ่นปลาท้องสีเงิน
           ในการทดลองครั้งที่สาม ได้กลับมาใช้หุ่นของปลาทั้งสี่แบบอีกครั้ง :




        คาถามที่ 3 : พฤติกรรมของปลาหลังหนาม
        แผนภูมิสามรูปข้างล่างนี้ แสดงปฏิกิริยาที่เป็นไปได้ของปลาหลังหนามตัวผู้ที่มีต่อหุ่นแต่ละแบบด้านบน
        ปฏิกิริยาใดที่นักเรียนทานายว่าจะเกิดกับแบบจาลองของปลาแต่ละแบบ



จงเติมอักษร ก ข หรือ ค เพียงตัวอักษรเดียวที่เป็นผลเกิดจากหุ่นแต่ละแบบ
                             รูปแบบ                         ปฏิกิริยา
                             แบบที่ 1
                             แบบที่ 2
                             แบบที่ 3
                             แบบที่ 4
                                                                                                            By..Krupaw


   ปัจจุบันม้าส่วนใหญ่จะดูเพรียวลมและสามารถวิ่งได้เร็ว นักวิทยาศาสตร์ได้พบฟอสซิลโครงกระดูกของสัตว์ที่มี
   รูปร่างคล้ายกับม้า พวกเขาคิดว่าฟอสซิลเหล่านั้นเป็นบรรพบุรุษของม้าในปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ยังสามารถ
   ตรวจสอบช่วงเวลาที่ฟอสซิลเหล่านั้นมีชีวิตอยู่ได้ด้วย ตารางข้างล่างนี้ แสดงข้อสนเทศของฟอสซิลสามชนิด
                                                                                                           ชีววิทยาน่ารู้




   และม้าในยุคปัจจุบัน




   Biologynsp.wordpress.com
การวิจัยเพิ่มเติมในเรื่องใดที่นักวิจัยสามารถทาเพื่อให้ค้นพบว่าม้ามีวิวัฒนาการอย่างไร ในช่วงเวลาที่ผ่านมา
จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “ใช” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อความ (1 คะแนน)
งานวิจัยนี้จะช่วยให้ค้นพบได้ว่าม้ามีวิวัฒนาการอย่างไรในช่วงเวลาที่ผ่านมา ใช่              ใช่ หรือ ไม่ใช่
หรือไม่
เปรียบเทียบจานวนของม้าที่มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาที่ต่างกัน                                    ใช่ / ไม่ใช่
ค้นหาโครงกระดูกของบรรพบุรุษม้าที่มีชีวิตในช่วง 50 – 40 ล้านปีก่อน                           ใช่ / ไม่ใช่




                                                                                                             By..Krupaw
                                                                                                            ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
By..Krupaw
                           ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
By..Krupaw
                           ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตY'tt Khnkt
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2Naughtily NaRee
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 

Mais procurados (20)

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 

Destaque

บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
Embedding power point (slideshare)
Embedding power point (slideshare)Embedding power point (slideshare)
Embedding power point (slideshare)DLSbgordon
 
Starter courses Bacon Wrapped Shrimp
Starter courses Bacon Wrapped ShrimpStarter courses Bacon Wrapped Shrimp
Starter courses Bacon Wrapped ShrimpRachael Mann
 
Durgaprasad Career Management through Information Resources
Durgaprasad Career Management through Information  ResourcesDurgaprasad Career Management through Information  Resources
Durgaprasad Career Management through Information ResourcesDurga Prasad
 
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)Biobiome
 
Tobacco control general for spain final final
Tobacco control general for spain final finalTobacco control general for spain final final
Tobacco control general for spain final finalUCT ICO
 
CM Ventures Finance investment management www.discoverpotentialturkey.com
CM Ventures Finance investment management  www.discoverpotentialturkey.com CM Ventures Finance investment management  www.discoverpotentialturkey.com
CM Ventures Finance investment management www.discoverpotentialturkey.com Mustafa Celepoglu
 
Vincenzo Attomanelli 3_slide-share
Vincenzo Attomanelli 3_slide-shareVincenzo Attomanelli 3_slide-share
Vincenzo Attomanelli 3_slide-shareVincenzo Lxcc Linux
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์bpatra
 

Destaque (17)

1298 sci m2
1298 sci m21298 sci m2
1298 sci m2
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
Tokio
TokioTokio
Tokio
 
Embedding power point (slideshare)
Embedding power point (slideshare)Embedding power point (slideshare)
Embedding power point (slideshare)
 
Research slideshow
Research slideshowResearch slideshow
Research slideshow
 
Unit 1. introduction
Unit 1. introductionUnit 1. introduction
Unit 1. introduction
 
Dubín
DubínDubín
Dubín
 
Starter courses Bacon Wrapped Shrimp
Starter courses Bacon Wrapped ShrimpStarter courses Bacon Wrapped Shrimp
Starter courses Bacon Wrapped Shrimp
 
Durgaprasad Career Management through Information Resources
Durgaprasad Career Management through Information  ResourcesDurgaprasad Career Management through Information  Resources
Durgaprasad Career Management through Information Resources
 
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
 
Tobacco control general for spain final final
Tobacco control general for spain final finalTobacco control general for spain final final
Tobacco control general for spain final final
 
CM Ventures Finance investment management www.discoverpotentialturkey.com
CM Ventures Finance investment management  www.discoverpotentialturkey.com CM Ventures Finance investment management  www.discoverpotentialturkey.com
CM Ventures Finance investment management www.discoverpotentialturkey.com
 
Vincenzo Attomanelli 3_slide-share
Vincenzo Attomanelli 3_slide-shareVincenzo Attomanelli 3_slide-share
Vincenzo Attomanelli 3_slide-share
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 

Semelhante a Pisa

แบบทดสอบตอบสนองพืช
แบบทดสอบตอบสนองพืชแบบทดสอบตอบสนองพืช
แบบทดสอบตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบสืบพันธ์ุ
แบบทดสอบสืบพันธ์ุแบบทดสอบสืบพันธ์ุ
แบบทดสอบสืบพันธ์ุWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์Wichai Likitponrak
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72june41
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
9789740330615
97897403306159789740330615
9789740330615CUPress
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมwijitcom
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551sutham
 

Semelhante a Pisa (20)

แบบทดสอบตอบสนองพืช
แบบทดสอบตอบสนองพืชแบบทดสอบตอบสนองพืช
แบบทดสอบตอบสนองพืช
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
แบบทดสอบสืบพันธ์ุ
แบบทดสอบสืบพันธ์ุแบบทดสอบสืบพันธ์ุ
แบบทดสอบสืบพันธ์ุ
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 57 , ธันวาคม 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 57 , ธันวาคม 2560สาระวิทย์ ฉบับที่ 57 , ธันวาคม 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 57 , ธันวาคม 2560
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
Onet science
Onet scienceOnet science
Onet science
 
9789740330615
97897403306159789740330615
9789740330615
 
Final1 m6 51
Final1 m6 51Final1 m6 51
Final1 m6 51
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 

Mais de Biobiome

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบBiobiome
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำBiobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทยBiobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
BiodiversityBiobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มขBiobiome
 

Mais de Biobiome (20)

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 

Pisa

  • 1. โคลนนิ่ง จงอ่านบทความนี้แล้วตอบคาถาม (ข้อ 1- 4) เครื่องทาสาเนาสิ่งมีชีวิต ถ้ามีการเลือกยอดสัตว์แห่งปี พ.ศ. 2540 ดอลลีจะต้องได้รับตาแหน่งนี้อย่างแน่นอน ดอลลีเป็นแกะสัญชาติสก๊อตที่ เห็นในรูปข้างล่างนี้ แต่ดอลลีไม่ใช่แกะธรรมดา ดอลลี่เป็นสาเนา (Clone) ของแกะอีกตัวหนึ่ง การโคลนนิ่ง (Cloning) หมายถึง การทาสาเนาจากต้นฉบับ นักวิทยาศาสตร์ประสบผลสาเร็จในการสร้างแกะ (ดอลลี) ให้ เหมือนกับแกะที่เป็นต้นฉบับทุกอย่างนักวิทยาศาสตร์ชาวสก๊อตชื่อ เอียน วิลมุตเขาแยกเอานิวเคลียสออก แล้วก็ปลูก 15 ถ่า20 วเคลียสนี้ ลงไปในเซลล์ไข่ของแกะตัวเมียอีกตัวหนึ่ง (แกะตัวที่ 2)ที่แยกเอาสิ่งที่อาจเป็นตัวกาหนดคุณลักษณะ ยนิ ของแกะตัว่ ที่ 2 โคลนนิ่งว จากนั้นจึงนาไข่จากแกะตัวที่ 2 นี้ปลูกถ่ายลงในแกะตัวเมียอีกตัวหนึ่ง (แกะตัวที่ 3) แกะตัว คาถามที 1 : ออกแล้ ที่ ดอลลีเองและคลอดลูกวออกมาเป็นดอลลี นักวิทยาศาสตร์บางคนคิดว่า ภายใน 2-3 ปีนี้เป็นไปได้ที่จะมีการโคลน 3 ตั้งท้หมือนกับแกะตั ใด นิ่ง1. แกะตัวที่ ัฐ1 มนุษย์ แต่ร บาลหลายประเทศได้ตัดสินใจออกกฎหมายห้ามการทาโคลนนิ่งมนุษย์แล้ว 2. แกะตัวที่ 2 เป็3.คนออกแบบเครื่องท(1 คะแนน) เขานา คน แกะตั1ที่ โคลนนิ่ง าสาเนาแกะ าถามที่ ว : 3 ชิดอลลีอหมืๆนกับแกะตัวานมของแกะตัวเมียที่ ้น4. วพ่ เ ของดอลลี อมน้ ใด ส่ นเล็กอ จากต่ โตเต็มแกะตัว(แกะตัวที่ 1) จากชิ้นส่วนเล็กๆ นี้ ก. ที่แล้ว ที่ 1 คาถามที่ วที:่ โคลนนิ่ง ข. แกะตั2 2 ค. แกะตัวที่ 3 ในบทความบรรทัดที่ 11 ที่กล่าวถึงชิ้นส่วนของต่อมน้านมที่ใช้ ว่าเป็น “ชิ้นส่วนเล็กๆ” ง. พ่อของดอลลี คาถามที่ 2 : โคลนนิ่ง (1 คะแนน) จากการอ่านเรื่องทั้งหมด นักเรียนคิดว่า “ชิ้นส่วนเล็กๆ” นั้น หมายถึงอะไร ก. เซลล์ ข. ยีน ค. นิวเคลียสของเซลล์ ง. โครโมโซมข้อ By..Krupaw คาถามที่ 3-4 : โคลนนิ่ง ในประโยคสุดท้ายของบทความกล่าวว่า รัฐบาลหลายประเทศได้ตัดสินใจออกกฎหมายห้ามการโคลนนิ่ง มนุษย์แล้วในตารางข้างล่างคือเหตุผลสองประการที่อาจเป็นไปได้ของการตัดสินใจนี้เหตุผลเหล่านั้น เป็น เหตุผลทางวิทยาศาสตร์หรือไม่ จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “เป็น” หรือ “ไม่เป็น” ในแต่ละข้อ ชีววิทยาน่ารู้ เหตุผล เป็นวิทยาศาสตร์หรือไม่ มนุษย์จากการโคลนนิ่งอาจติดโรคต่าง ๆ ได้ง่ายกว่ามนุษย์ธรรมดา เป็น / ไม่เป็น มนุษย์ไม่ควรแย่งบทบาทของพระเจ้าผู้สร้างสิ่งมีชีวิต เป็น / ไม่เป็น Biologynsp.wordpress.com
  • 2. พืชดัดแปลงพันธุกรรม ข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมควรถูกห้าม กลุ่มอนุรักษ์พันธุ์พืชและสัตว์ป่ากาลังเรียกร้องให้ยกเลิกข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรม (GM) ข้าวโพดดัดแปลง พันธุกรรม ถูกออกแบบมาเพื่อไม่ให้ถูกทา ลายโดยสารฆ่าวัชพืชชนิดใหม่ที่มี ประสิทธิภาพฆ่าข้าวโพดพันธุ์เดิมได้ สารฆ่าวัชพืชใหม่นี้จะฆ่าวัชพืชเกือบทุกชนิดในไร่ข้าวโพด นักอนุรักษ์บอกว่า เนื่องจากวัชพืชเป็นอาหารของสัตว์ เล็กๆ โดยเฉพาะแมลง การใช้สารฆ่าวัชพืชใหม่กับข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมจะเป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม แต่ ผู้สนับสนุนการใช้ข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมบอกว่า การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ได้แสดงว่าจะไม่เป็นเช่นนั้น ต่อไปนี้คือ รายละเอียดของการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่กล่าวถึงในบทความข้างบน: • มีการปลูกข้าวโพด 200 แปลงทั่วประเทศ • แต่ละแปลงถูกแบ่งเป็นสองส่วน ครึ่งหนึ่งปลูกข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรม (GM) ที่ใช้สารฆ่าวัชพืชใหม่ ส่วนอีก ครึ่งหนึ่งปลูกข้าวโพดพันธุ์เดิมที่ใช้สารฆ่าวัชพืชเดิม • จานวนแมลงที่พบในแปลงข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมที่ใช้สารฆ่าวัชพืชใหม่มีจานวนพอๆ กับแมลงในแปลงที่ ปลูกข้าวโพดพันธุ์เดิมที่ใช้สารฆ่าวัชพืชเดิม คาถามที่ 1-2: พืชดัดแปลงพันธุกรรม การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่กล่าวถึงข้างต้น มีปัจจัยใดที่ตั้งใจทาให้แตกต่างกัน จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละปัจจัย การศึกษาตั้งใจทาให้ปัจจัยนี้แตกต่างกันหรือไม่ ใช่ หรือ ไม่ใช่ จานวนของแมลงในสิ่งแวดล้อม ใช่ / ไม่ใช่ ชนิดของสารฆ่าวัชพืชที่ใช้ ใช่ / ไม่ใช่ By..Krupaw คาถามที่ 3 : พืชดัดแปลงพันธุกรรม ข้าวโพดถูกปลูกในที่ต่างๆ 200 แปลงทั่วประเทศ เพราะเหตุใดนักวิทยาศาสตร์จึงใช้พื้นที่ปลูก มากกว่าหนึ่งแห่ง ก. เพื่อเกษตรกรจานวนมาก จะได้ลองปลูกข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรม ข. เพื่อดูว่าข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมจะเจริญเติบโตได้มากเพียงใด ชีววิทยาน่ารู้ ค. เพื่อให้ข้าวโพดดัดแปลงพันธุกรรมครอบคลุมพื้นที่ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ ง. เพื่อให้มีสภาวะที่แตกต่างกันหลายๆ แบบในการเจริญเติบโตของข้าวโพด Biologynsp.wordpress.com
  • 3. พฤติกรรมของปลาหลังหนาม ปลาหลังหนามเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายในตู้ปลา • ในฤดูผสมพันธุ์ท้องของปลาหลังหนามตัวผู้จะเปลี่ยนจากสีเงินเป็นสีแดง • ปลาหลังหนามตัวผู้จะโจมตีคู่แข่งตัวผู้ตัวอื่นๆ ที่เข้ามาในบริเวณที่ครอบครองและพยายามขับไล่ออกไปจากบริเวณนั้น • ถ้ามีปลาตัวเมียสีเงินเข้ามาใกล้ ปลาตัวผู้จะพยายามนาปลาตัวเมียไปที่รังของตัวเอง เพื่อให้ปลาตัวเมียได้วางไข่ นักเรียนคนหนึ่งทดลองเพื่อสารวจตรวจสอบว่า อะไรทาให้ปลาหลังหนามตัวผู้แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวในตู้ปลาของ นักเรียนได้เลี้ยงปลาหลังหนามตัวผู้ไว้หนึ่งตัว นักเรียนได้นาหุ่นของปลาที่ทาด้วยขี้ผึ้งสามแบบผูกติดไว้กับลวด เขาแขวน หุ่นปลาทั้งสามแบบแยกกันไว้ในตู้ปลาในระยะเวลาที่เท่ากัน แล้วนับจานวนครั้งที่ปลาตัวผู้แสดงปฏิกิริยาอย่างก้าวร้าว โดยการพุ่งใส่ปลาขี้ผึ้งผลการทดลองแสดงดังรูปข้างล่าง By..Krupaw คาถามที่ 1 : พฤติกรรมของปลาหลังหนาม การทดลองนี้พยายามตอบคาถามอะไร ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ชีววิทยาน่ารู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ............................................... Biologynsp.wordpress.com
  • 4. ในช่วงของการผสมพันธุ์ ถ้าปลาหลังหนามตัวผู้เห็นปลาตัวเมีย มันจะพยายามดึงดูดตัวเมียโดยการ แสดงพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีซึ่งดูคล้ายกับการเต้นราเล็กๆ ในการทดลองครั้งที่สองได้สารวจตรวจสอบ พฤติกรรมเกี้ยวพาราสีนี้อีกครั้งที่ใช้หุ่นขี้ผึ้งสามแบบผูกติดกับลวด ตัวหนึ่งสีแดง อีกสองตัวสีเงินซึ่งตัว หนึ่งมีท้องแบน ส่วนอีกตัวท้องป่อง นักเรียนนับจานวนครั้ง (ในเวลาที่กาหนด) ที่ปลาหลังหนามตัวผู้ แสดงปฏิกิริยาต่อหุ่นจาลองโดยแสดงพฤติกรรมเกี้ยวพาราสี ผลการทดลองแสดงดังรูปข้างล่าง คาถามที่ 2 : พฤติกรรมของปลาหลังหนาม นักเรียนสี่คนสรุปผลของตัวเองตามผลที่ได้จากการทดลองครั้งที่สองนี้ ข้อสรุปเหล่านี้ ถูกต้องตามข้อมูลที่ได้จากกราฟหรือไม่ จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อสรุป ข้อสรุปนี้ถูกต้องตามข้อมูลที่ได้จากกราฟหรือไม่ ใช่ หรือ ไม่ใช่ สีแดงก่อให้เกิดพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีของปลาหลังหนามตัวผู้ ใช่ / ไม่ใช่ ปลาหลังหนามตัวเมียท้องแบน ทาให้ปลาหลังหนามตัวผู้แสดง ใช่ / ไม่ใช่ พฤติกรรมเกี้ยวพาราสีมากที่สุด ปลาหลังหนามตัวผู้แสดงพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีกับปลาตัวเมีย ใช่ / ไม่ใช่ ท้องป่องมากกว่าปลาตัวเมียท้องแบน By..Krupaw ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 5. การทดลองได้แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวของปลาหลังหนามตัวผู้ต่อหุ่นปลาท้องสีแดง และแสดงพฤติกรรมเกี้ยวพาราสีต่อหุ่นปลาท้องสีเงิน ในการทดลองครั้งที่สาม ได้กลับมาใช้หุ่นของปลาทั้งสี่แบบอีกครั้ง : คาถามที่ 3 : พฤติกรรมของปลาหลังหนาม แผนภูมิสามรูปข้างล่างนี้ แสดงปฏิกิริยาที่เป็นไปได้ของปลาหลังหนามตัวผู้ที่มีต่อหุ่นแต่ละแบบด้านบน ปฏิกิริยาใดที่นักเรียนทานายว่าจะเกิดกับแบบจาลองของปลาแต่ละแบบ จงเติมอักษร ก ข หรือ ค เพียงตัวอักษรเดียวที่เป็นผลเกิดจากหุ่นแต่ละแบบ รูปแบบ ปฏิกิริยา แบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3 แบบที่ 4 By..Krupaw ปัจจุบันม้าส่วนใหญ่จะดูเพรียวลมและสามารถวิ่งได้เร็ว นักวิทยาศาสตร์ได้พบฟอสซิลโครงกระดูกของสัตว์ที่มี รูปร่างคล้ายกับม้า พวกเขาคิดว่าฟอสซิลเหล่านั้นเป็นบรรพบุรุษของม้าในปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ยังสามารถ ตรวจสอบช่วงเวลาที่ฟอสซิลเหล่านั้นมีชีวิตอยู่ได้ด้วย ตารางข้างล่างนี้ แสดงข้อสนเทศของฟอสซิลสามชนิด ชีววิทยาน่ารู้ และม้าในยุคปัจจุบัน Biologynsp.wordpress.com
  • 6. การวิจัยเพิ่มเติมในเรื่องใดที่นักวิจัยสามารถทาเพื่อให้ค้นพบว่าม้ามีวิวัฒนาการอย่างไร ในช่วงเวลาที่ผ่านมา จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “ใช” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อความ (1 คะแนน) งานวิจัยนี้จะช่วยให้ค้นพบได้ว่าม้ามีวิวัฒนาการอย่างไรในช่วงเวลาที่ผ่านมา ใช่ ใช่ หรือ ไม่ใช่ หรือไม่ เปรียบเทียบจานวนของม้าที่มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาที่ต่างกัน ใช่ / ไม่ใช่ ค้นหาโครงกระดูกของบรรพบุรุษม้าที่มีชีวิตในช่วง 50 – 40 ล้านปีก่อน ใช่ / ไม่ใช่ By..Krupaw ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 7. By..Krupaw ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 8. By..Krupaw ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com