SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
Introduction to use
ACGIH
ACGIH คืออะไร
• เป็นองค์กรนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรมภาครัฐแห่งอมเริกา
• เป็นองค์กรไม่แสวงหากาไร
• เป็นองค์กรที่กาหนดค่ามาตรฐานสารเคมีในบรรยากาศการทางาน (TLV) และค่ามาตรฐาน
สารเคมีในร่างกายมนุษย์ (BEI)
• ค่า TLV และ BEI ได้มาจากการทบทวนข้อมูลทางวิทยาศาสตร์โดยคณะผู้เชี่ยวชาญ
ทางด้านสาธารณสุขและสาขาอื่นๆ
Threshold Limit Values (TLV)
• เป็นค่าความเข้มขันสารเคมีในบรรยากาศการทางาน ที่เชื่อว่าคนงานเกือบทั้งหมดสามารถ
ทางานได้โดยปราศจากผลกระทบต่อสุขภาพ
• ใช้เพื่อเป็นแนวทางหรือข้อเสนอเพื่อช่วยในการประเมินและควบคุวสิ่งคุกคามสุขภาพในที่
ทางานเท่านั้น
• แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ TWA, STEL และ C
Time-weighted average (TWA)
• หมายถึง ระดับค่าเฉลี่ยความเข้มข้นสารเคมีในอากาศเฉลี่ยตลอดเวลา 8 ชั่วโมงต่อวัน และ
40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
• เป็นค่าที่เชื่อว่าคนงานส่วนใหญ่สามารถสัมผัสสารเคมีในบรรยากาศในระดับต่ากว่าหรือเท่ากับ
ระดับนี้ต่อเนื่องเป็นเวลา 8 ชั่วโมงงต่อวันและ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อ
สุขภาพ
Short-term exposure limt (STEL)
• เป็นระดับความเข้มข้นสารเคมีในอากาศที่คนงานต้องไม่สัมผัสนานมากกว่า 15 นาที
• เป็นระดับที่เชื่อว่าคนงานสามารถสัมผัสเป็นระยะเวลาสั้นได้โดยไม่ทาให้เกิดอาการ
oการระคายเคือง
oการทาลายเนื้อเยื่อแบบถาวร
oการเกิดพิษแบบฉับพลัน
oการง่วงซึม
• ใช้เป็นค่าเสริมกับ TLV-TWA
• หากสัมผัสกับความเข้มข้นสารเคมีระดับนี้ ต้องสัมผัสไม่เกิน 4 ครั้ง แต่ละครั้งต่องห่างกันอย่าง
น้อย 60 นาที
Ceiling (C)
• เป็นระดับความเข้มข้นสารเคมีในอากาศที่คนงานห้ามสัมผัสเลยตลอดระยะเวลาการทางาน
สารผสม
• ในกรณีที่มีสารเคมีหลายชนิดที่ส่งผลกระทบแบบเดียวกันต่ออวัยวะเดียวกัน
ความเข้มข้นในอากาศ
ค่าจากัด
ระยะเวลาการทางานที่ไม่ปกติ
• คนงานที่มีระยะเวลาการทางานแตกต่างไปจาก 8 ชั่วโมงต่อวัน หรือ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
จาเป็นต้องได้รับการคุ้มครองเช่นเดียวกับคนที่มีระยะเวลาการทางานปกติ
• ระดับ TLV ควรมีการปรับเพื่อให้มั่นใจว่าคนงานสามารถทางานได้อย่างปลอดภัย
• ระดับความเข้มข้นที่สัมผัสได้แปลผกผันกับระยะเวลาการสัมผัส
การปรับค่า TLV
• Brief and Scala model
oคิดเวลาการทางาน และเวลาที่หยุดพัก
𝑅𝐹 =
24 − ℎ
16
×
8
ℎ
การปรับค่า TLV
• OSHA model
oคิดเพียงระยะเวลาการทางาน และผลกระทบต่อสุขภาพ
1.Acute toxicant : 𝑅𝐹 =
8
ℎ(𝑑)
2.Chronic toxicant : 𝑅𝐹 =
40
ℎ(𝑤𝑘)
การปรับค่า TLV
• OSHA model
oคิดเพียงระยะเวลาการทางาน และผลกระทบต่อสุขภาพ
1.Acute toxicant : 𝑅𝐹 =
8
ℎ(𝑑)
2.Chronic toxicant : 𝑅𝐹 =
40
ℎ(𝑤𝑘)
การปรับค่า TLV
• Pharmacokinetic model
o ใช้หลักการทางพิษวิทยา ร่วมกับระยะเวลาการทางาน
• Quebec model
o ใช้หลักการของ OSHA แต่มีการระบุพิษสารเคมีต่างๆว่าเป็นพิษเฉียบพลัน หรือพิษเรื้อรัง
หน่วยของ TLV
• ppm หรือ mg/m3 ขึ้นอยู่กับว่าเป็น gas, aerosol หรือ vapor
• Gas เป็นสารเคมีที่เคลื่อนที่ได้อิสระในอากาศ ไม่มีรูปร่างหรือปริมาตณที่แน่นอน (หากไม่ถูกบรรจุ)
• Aerosol เป็นแขวนลอยของละอองของแข็งหรือของเหลวในอากาศ
• Vapor เป็นสารเคมีที่อยู่ในสถานะก๊าซ ระเหยมาจากของแข็งหรือของเหลว mg/m3
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Documentation
oเอกสารอ้างอิงเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาค่า TLV และ BEI
• Minimal Oxygen Content
oปริมาณความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนที่น้อยที่สุดที่คนงานสารมารถทางานได้อย่าง
ปลอดภัย ต้องมีค่าความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนอย่างน้อยร้อยละ 19.5 ที่ระดับน้าทะเล
(ความดันแก๊สออกซิเจน 148 ทอร์)
• Notice of Intended Change (NIC)
oเป็นรายชื่อสารเคมีที่จะถูกกาหนดค่าอ้างอิงใช้ในปีต่อไป จุดประสงค์เพื่อให้มีการอภิปราย
ก่อนการประกาศใช้
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Particulate matter/Particle size
oเป็นอนุภาคของของแข็งหรือของเหลว สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1. Inhalable particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมบริเวณใดก็ได้ใน
ทางเดินหายใจ
2. Thoracic particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมได้ในหลอดลมฝอย
และถุงลม (0.003-5 ไมครอน)
3. Respirable particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมได้ในถุงลมอ (น้อย
กว่า 0.5 ไมครอน)
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• TLV® Basis
oใช้บอกผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น
-อายุขัยสั้นลง
-ปัญหาการเจริญพันธุ์หรือการเจริญเติบโต
-การทางานของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติ
-ความสามารถในการต้านพิษของสารพิษ
ตัวอื่นหรือการดาเนินโรคแย่ลง
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Biological exposure indices (BEIs®)
oบอกว่ามีการตรวจดัชนีการสัมผัสทางชีวภาพได้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ
- BEIA เป็นดัชนีสาหรับยาฆ่าแมลงกลุ่ม Acetylcholinesterase inhibitor
- BEIM เป็นดัชนีสาหรับสารกลุ่ม methemoglobin inducer
- BEIP เป็นดัชนีสาหรับสารกลุ่ม polycyclic aromatic hydrocarbon
(PAHs)
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Carcinogenicity
• ความสามารถก่อให้เกิดเนื้องอก หรือมะเร็ง ได้มาจากการศึกษาทางระบาดวิทยา ทางพิษวิทยา และการศึกษาโดยการทดลอง
สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่ม คือ
- A1 ยืนยันว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน
- A2 สงสัยว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน
- A3 ยืนยันว่าก่อให้เกิดมะเร็งในสัตว์ แต่ไม่ทราบความสัมพันธ์ในคน
- A4 ไม่สามารถจัดกลุ่มได้
- A5 ไม่ก่อให้เกิดมะเร็งในคน
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Inhalable Fraction and Vapor (IFV)
oใช้เมื่อสารนั้นปล่อยความดันไอออกมาปริมาณมาก ทาให้ตรวจพบได้ทั้งรูปแบบอนุภาคใน
อากาศและรูปแบบไอระเหย เช่น กระบวนการพ่น กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิทาให้มีการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส
oคิดเป็นสัดส่วนระหว่าง Saturated Vapor Concentration
(SVC) กับ TLV-TWA ค่าระหว่าง 0.1 ถึง 10
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Sensitization
• สารเคมีที่สามารถกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ในการสัมผัสครั้งต่อไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดปฏิกิริยารุนแรงมากขึ้น แม้สัมผัสในระดับต่า
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
- DSEN กระตุ้นให้เกิดอาการทางผิวหนัง
- RSEN กระตุ้นให้เกิดอาการทางระบบทางเดินหายใจ
หมายเหตุ - สารที่ไม่ได้ระบุว่าเป็นประเภทใด เนื่องจากยังมีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะแยกได้
- สารที่ไม่ได้หมายเหตุว่า SEN ไม่ได้หมายความว่าไม่กระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ได้
คานิยามและหมายเหตุ (Definition and
Notation)
• Skin
oบอกว่าสารสามารถถูกดูดซึมได้มากทางผิวหนัง เยื่อบุผิวต่างๆ และตา
oจะไม่ใช้เมื่อทาให้เกิดการระคายเคืองหรือการกัดกร่อนแต่ไม่มีพิษต่อระบบอื่นๆ
oสารเคมีที่สามารถถูกดูดซึมได้ทางผิวหนัง ควรได้รับการตรวจดัชนีบ่งชี้การสัมผัสทาง
ชีวภาพ หากสามารถตรวจได้
oมีไว้เพื่อเตือนผู้ใช้คู่มือว่า การเก็บตัวอย่างทางอากาศเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอต่อ
การประเมินการสัมผัส
Biological exposure indices (BEIs)
• เป็นดัชนีบ่งชี้การสัมผัสทางชีวภาพ
• ใช้เป็นเครื่องมือตรวจการรับสัมผัสในกรณีที่อาจได้รับสารเคมีได้จากหลายช่องทางนอกจาก
ทางการหายใจ เช่น ทางการกิน หรือการดูดซึมทางผิวหนัง
• สารที่ตรวจวัดอาจเป็นตัวสารเคมีหรือเป็นเมตาบอไลต์
• ไม่ได้ใช้สาหรับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยจากการทางาน
• อาจตรวจได้จากทางเลือด ปัสสาวะ และลมหายใจออกช่วงสุดท้าย
BEI และ TLV
• BEI บ่งชี้การสัมผัสจากทุกทาง แต่ TLV บ่งชี้การสัมผัสทางการหายใจ
• ค่าที่ตรวจวัดจากอากาศและทางชีวภาพอาจไม่สัมพันธ์กันได้จาก
oปัจจัยส่วนบุคคล เช่น รูปร่างร่างกาย อาหารที่กิน เมตาบอลิซึม ตั้งครรภ์
oปัจจัยจากการทางาน เช่น ระยะเวลา อุณหภูมิ ความชื้น การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล
oปัจจัยนอกงาน เช่น สุรา บุหรี่ อาหารและน้าดื่มที่บ้าน
oวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ
เวลาการเก็บสิ่งส่งตรวจ
เวลาการเก็บ คาแนะนา
• ก่อนเข้าทางาน (prior to shift) 16 ชั่วโมงหลังหยุดการสัมผัส
• ระหว่างการทางาน (during shift) เวลาใดก็ได้หลังสัมผัสเป็นเวลา 2 ชั่วโมง
• หลังกะทางาน (end of shift) ทันที่หลังหยุดสัมผัส
• วันสุดท้ายของสัปดาห์การทางาน (end of
work week)
หลังจากทางานสัมผัสมาแล้ว 4-5 วัน
ติดดต่อกัน
• เวลาใดก็ได้ (discretionary) เวลาใดก็ได้
หมายเหตุ
• B = background
oสามารถตรวจพบได้ในคนทั่วไป แม้ไม่ได้สัมผัสจากการทางาน
• Ns = nonspecific
oไม่จาเพาะต่อสารเคมีชนิดเดียว
• Nq = nonquantitative
oไม่สามารถบอกผลเป็นเชิงปริมาณได้ เนื่องจากข้อมูลปัจจุบันไม่เพียงพอ
• Sq = semi-quantitative
oสามารถบอกผลเชิงปริมาณได้ แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าสัมผัสมากหรือน้อย อย่างไรก็
ตามสามารถใช้เป็นการตรวจคัดกรองได้ในกรณีที่ไม่มีการตรวจที่จาเพาะต่อสารเคมีนั้น
หรือใช้เป็นการตรวจยืนยันในกรณีที่สารเคมีนั้นมีเพียงการตรวจเชิงคุณภาพ
ขอบคุณครับ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...Utai Sukviwatsirikul
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]Viam Manufacturing
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อrainacid
 

Mais procurados (20)

มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อ
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 

Acgih

  • 2. ACGIH คืออะไร • เป็นองค์กรนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรมภาครัฐแห่งอมเริกา • เป็นองค์กรไม่แสวงหากาไร • เป็นองค์กรที่กาหนดค่ามาตรฐานสารเคมีในบรรยากาศการทางาน (TLV) และค่ามาตรฐาน สารเคมีในร่างกายมนุษย์ (BEI) • ค่า TLV และ BEI ได้มาจากการทบทวนข้อมูลทางวิทยาศาสตร์โดยคณะผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านสาธารณสุขและสาขาอื่นๆ
  • 3. Threshold Limit Values (TLV) • เป็นค่าความเข้มขันสารเคมีในบรรยากาศการทางาน ที่เชื่อว่าคนงานเกือบทั้งหมดสามารถ ทางานได้โดยปราศจากผลกระทบต่อสุขภาพ • ใช้เพื่อเป็นแนวทางหรือข้อเสนอเพื่อช่วยในการประเมินและควบคุวสิ่งคุกคามสุขภาพในที่ ทางานเท่านั้น • แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ TWA, STEL และ C
  • 4. Time-weighted average (TWA) • หมายถึง ระดับค่าเฉลี่ยความเข้มข้นสารเคมีในอากาศเฉลี่ยตลอดเวลา 8 ชั่วโมงต่อวัน และ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ • เป็นค่าที่เชื่อว่าคนงานส่วนใหญ่สามารถสัมผัสสารเคมีในบรรยากาศในระดับต่ากว่าหรือเท่ากับ ระดับนี้ต่อเนื่องเป็นเวลา 8 ชั่วโมงงต่อวันและ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ
  • 5. Short-term exposure limt (STEL) • เป็นระดับความเข้มข้นสารเคมีในอากาศที่คนงานต้องไม่สัมผัสนานมากกว่า 15 นาที • เป็นระดับที่เชื่อว่าคนงานสามารถสัมผัสเป็นระยะเวลาสั้นได้โดยไม่ทาให้เกิดอาการ oการระคายเคือง oการทาลายเนื้อเยื่อแบบถาวร oการเกิดพิษแบบฉับพลัน oการง่วงซึม • ใช้เป็นค่าเสริมกับ TLV-TWA • หากสัมผัสกับความเข้มข้นสารเคมีระดับนี้ ต้องสัมผัสไม่เกิน 4 ครั้ง แต่ละครั้งต่องห่างกันอย่าง น้อย 60 นาที
  • 8. ระยะเวลาการทางานที่ไม่ปกติ • คนงานที่มีระยะเวลาการทางานแตกต่างไปจาก 8 ชั่วโมงต่อวัน หรือ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จาเป็นต้องได้รับการคุ้มครองเช่นเดียวกับคนที่มีระยะเวลาการทางานปกติ • ระดับ TLV ควรมีการปรับเพื่อให้มั่นใจว่าคนงานสามารถทางานได้อย่างปลอดภัย • ระดับความเข้มข้นที่สัมผัสได้แปลผกผันกับระยะเวลาการสัมผัส
  • 9. การปรับค่า TLV • Brief and Scala model oคิดเวลาการทางาน และเวลาที่หยุดพัก 𝑅𝐹 = 24 − ℎ 16 × 8 ℎ
  • 10. การปรับค่า TLV • OSHA model oคิดเพียงระยะเวลาการทางาน และผลกระทบต่อสุขภาพ 1.Acute toxicant : 𝑅𝐹 = 8 ℎ(𝑑) 2.Chronic toxicant : 𝑅𝐹 = 40 ℎ(𝑤𝑘)
  • 11. การปรับค่า TLV • OSHA model oคิดเพียงระยะเวลาการทางาน และผลกระทบต่อสุขภาพ 1.Acute toxicant : 𝑅𝐹 = 8 ℎ(𝑑) 2.Chronic toxicant : 𝑅𝐹 = 40 ℎ(𝑤𝑘)
  • 12. การปรับค่า TLV • Pharmacokinetic model o ใช้หลักการทางพิษวิทยา ร่วมกับระยะเวลาการทางาน • Quebec model o ใช้หลักการของ OSHA แต่มีการระบุพิษสารเคมีต่างๆว่าเป็นพิษเฉียบพลัน หรือพิษเรื้อรัง
  • 13.
  • 14. หน่วยของ TLV • ppm หรือ mg/m3 ขึ้นอยู่กับว่าเป็น gas, aerosol หรือ vapor • Gas เป็นสารเคมีที่เคลื่อนที่ได้อิสระในอากาศ ไม่มีรูปร่างหรือปริมาตณที่แน่นอน (หากไม่ถูกบรรจุ) • Aerosol เป็นแขวนลอยของละอองของแข็งหรือของเหลวในอากาศ • Vapor เป็นสารเคมีที่อยู่ในสถานะก๊าซ ระเหยมาจากของแข็งหรือของเหลว mg/m3
  • 15.
  • 16. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Documentation oเอกสารอ้างอิงเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาค่า TLV และ BEI • Minimal Oxygen Content oปริมาณความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนที่น้อยที่สุดที่คนงานสารมารถทางานได้อย่าง ปลอดภัย ต้องมีค่าความเข้มข้นของแก๊สออกซิเจนอย่างน้อยร้อยละ 19.5 ที่ระดับน้าทะเล (ความดันแก๊สออกซิเจน 148 ทอร์) • Notice of Intended Change (NIC) oเป็นรายชื่อสารเคมีที่จะถูกกาหนดค่าอ้างอิงใช้ในปีต่อไป จุดประสงค์เพื่อให้มีการอภิปราย ก่อนการประกาศใช้
  • 17. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Particulate matter/Particle size oเป็นอนุภาคของของแข็งหรือของเหลว สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1. Inhalable particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมบริเวณใดก็ได้ใน ทางเดินหายใจ 2. Thoracic particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมได้ในหลอดลมฝอย และถุงลม (0.003-5 ไมครอน) 3. Respirable particulate matter เป็นอนุภาคที่สามารถสะสมได้ในถุงลมอ (น้อย กว่า 0.5 ไมครอน)
  • 18. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • TLV® Basis oใช้บอกผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น -อายุขัยสั้นลง -ปัญหาการเจริญพันธุ์หรือการเจริญเติบโต -การทางานของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติ -ความสามารถในการต้านพิษของสารพิษ ตัวอื่นหรือการดาเนินโรคแย่ลง
  • 19. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Biological exposure indices (BEIs®) oบอกว่ามีการตรวจดัชนีการสัมผัสทางชีวภาพได้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ - BEIA เป็นดัชนีสาหรับยาฆ่าแมลงกลุ่ม Acetylcholinesterase inhibitor - BEIM เป็นดัชนีสาหรับสารกลุ่ม methemoglobin inducer - BEIP เป็นดัชนีสาหรับสารกลุ่ม polycyclic aromatic hydrocarbon (PAHs)
  • 20. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Carcinogenicity • ความสามารถก่อให้เกิดเนื้องอก หรือมะเร็ง ได้มาจากการศึกษาทางระบาดวิทยา ทางพิษวิทยา และการศึกษาโดยการทดลอง สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่ม คือ - A1 ยืนยันว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน - A2 สงสัยว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน - A3 ยืนยันว่าก่อให้เกิดมะเร็งในสัตว์ แต่ไม่ทราบความสัมพันธ์ในคน - A4 ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ - A5 ไม่ก่อให้เกิดมะเร็งในคน
  • 21. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Inhalable Fraction and Vapor (IFV) oใช้เมื่อสารนั้นปล่อยความดันไอออกมาปริมาณมาก ทาให้ตรวจพบได้ทั้งรูปแบบอนุภาคใน อากาศและรูปแบบไอระเหย เช่น กระบวนการพ่น กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิทาให้มีการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส oคิดเป็นสัดส่วนระหว่าง Saturated Vapor Concentration (SVC) กับ TLV-TWA ค่าระหว่าง 0.1 ถึง 10
  • 22. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Sensitization • สารเคมีที่สามารถกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ในการสัมผัสครั้งต่อไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดปฏิกิริยารุนแรงมากขึ้น แม้สัมผัสในระดับต่า สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ - DSEN กระตุ้นให้เกิดอาการทางผิวหนัง - RSEN กระตุ้นให้เกิดอาการทางระบบทางเดินหายใจ หมายเหตุ - สารที่ไม่ได้ระบุว่าเป็นประเภทใด เนื่องจากยังมีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะแยกได้ - สารที่ไม่ได้หมายเหตุว่า SEN ไม่ได้หมายความว่าไม่กระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ได้
  • 23. คานิยามและหมายเหตุ (Definition and Notation) • Skin oบอกว่าสารสามารถถูกดูดซึมได้มากทางผิวหนัง เยื่อบุผิวต่างๆ และตา oจะไม่ใช้เมื่อทาให้เกิดการระคายเคืองหรือการกัดกร่อนแต่ไม่มีพิษต่อระบบอื่นๆ oสารเคมีที่สามารถถูกดูดซึมได้ทางผิวหนัง ควรได้รับการตรวจดัชนีบ่งชี้การสัมผัสทาง ชีวภาพ หากสามารถตรวจได้ oมีไว้เพื่อเตือนผู้ใช้คู่มือว่า การเก็บตัวอย่างทางอากาศเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอต่อ การประเมินการสัมผัส
  • 24.
  • 25. Biological exposure indices (BEIs) • เป็นดัชนีบ่งชี้การสัมผัสทางชีวภาพ • ใช้เป็นเครื่องมือตรวจการรับสัมผัสในกรณีที่อาจได้รับสารเคมีได้จากหลายช่องทางนอกจาก ทางการหายใจ เช่น ทางการกิน หรือการดูดซึมทางผิวหนัง • สารที่ตรวจวัดอาจเป็นตัวสารเคมีหรือเป็นเมตาบอไลต์ • ไม่ได้ใช้สาหรับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยจากการทางาน • อาจตรวจได้จากทางเลือด ปัสสาวะ และลมหายใจออกช่วงสุดท้าย
  • 26. BEI และ TLV • BEI บ่งชี้การสัมผัสจากทุกทาง แต่ TLV บ่งชี้การสัมผัสทางการหายใจ • ค่าที่ตรวจวัดจากอากาศและทางชีวภาพอาจไม่สัมพันธ์กันได้จาก oปัจจัยส่วนบุคคล เช่น รูปร่างร่างกาย อาหารที่กิน เมตาบอลิซึม ตั้งครรภ์ oปัจจัยจากการทางาน เช่น ระยะเวลา อุณหภูมิ ความชื้น การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล oปัจจัยนอกงาน เช่น สุรา บุหรี่ อาหารและน้าดื่มที่บ้าน oวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจ
  • 27. เวลาการเก็บสิ่งส่งตรวจ เวลาการเก็บ คาแนะนา • ก่อนเข้าทางาน (prior to shift) 16 ชั่วโมงหลังหยุดการสัมผัส • ระหว่างการทางาน (during shift) เวลาใดก็ได้หลังสัมผัสเป็นเวลา 2 ชั่วโมง • หลังกะทางาน (end of shift) ทันที่หลังหยุดสัมผัส • วันสุดท้ายของสัปดาห์การทางาน (end of work week) หลังจากทางานสัมผัสมาแล้ว 4-5 วัน ติดดต่อกัน • เวลาใดก็ได้ (discretionary) เวลาใดก็ได้
  • 28. หมายเหตุ • B = background oสามารถตรวจพบได้ในคนทั่วไป แม้ไม่ได้สัมผัสจากการทางาน • Ns = nonspecific oไม่จาเพาะต่อสารเคมีชนิดเดียว • Nq = nonquantitative oไม่สามารถบอกผลเป็นเชิงปริมาณได้ เนื่องจากข้อมูลปัจจุบันไม่เพียงพอ • Sq = semi-quantitative oสามารถบอกผลเชิงปริมาณได้ แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าสัมผัสมากหรือน้อย อย่างไรก็ ตามสามารถใช้เป็นการตรวจคัดกรองได้ในกรณีที่ไม่มีการตรวจที่จาเพาะต่อสารเคมีนั้น หรือใช้เป็นการตรวจยืนยันในกรณีที่สารเคมีนั้นมีเพียงการตรวจเชิงคุณภาพ

Notas do Editor

  1. http://www.ccohs.ca/oshanswers/chemicals/how_do.html