SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
โครงงานวิท ยาศาสตร์
แบบจำา ลองใบพัด กัง หัน ลม
               โดย
        นายอมรเทพ ศรีเมฆ
        นายอัซรอน แก้วสลำา
           ครูท ี่ป รึก ษา
   คุณครูเลิศศักดิ์ ประกอบชัยชนะ
บทคัด ย่อ

         จากปัจจุบันนี้โลกของเราได้ประสบ
ปัญหาภาวะโลกร้อนและได้มีการรณรงค์
ให้ใช้พลังงานทดจากธรรมชาติซึ่ง
พลังงานธรรมชาติเช่นพลังงานลม
พลังงานนำ้า พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น
คณะผูจัดทำาได้คำานึงถึงเรื่องพลังงาน
       ้
ธรรมชาติที่ไม่ต้องใช้ต้นทุนอะไรมากและ
ไม่ก่อให้เกิดปัญหาโลกร้อน โดยเฉพาะ
พลังงานลม จึงได้ประดิษฐ์แบบจำาลอง
แบบจำาลองกังหันลมจะประกอบด้วย
ส่วนที่สำาคัญหลัก คือส่วนใบพัดเนื่องจาก
กระแส ส่วนใหญ่แล้วพลังธรรมชาติที่ใช้ก็จะ
เป็น พลังงานนำ้า กับ พลังงานแสงอาทิตย์ ซึง   ่
ใช้พนทีในการติดตั้งอย่างมาก โดยเฉพาะ
       ื้ ่
พลังงานนำ้าที่ต้องตัดต้นไม้ไปมากเพื่อใช้
สร้างเขือน แต่พลังงานลมนันสามารถติดตั้ง
           ่                 ้
ได้ทุกที่ที่มลม คณะผู้จัดทำาเห็นปัญหานี้ จึง
             ี
ได้คดประดิษฐ์ใบพัดกังหันลมที่สามารถให้
     ิ
กระแสไฟฟ้าได้มากที่สด    ุ
ใบพัดกังหันลมที่เราได้ทดลองนั้นมีด้วย
กัน 4 แบบโดยใช้ชอย่อคือแบบA B C และ
                    ื่
D ซึ่งแต่ละแบบเราจะกำาหนดให้ทุกอย่าง
เหมือนกันแตกต่างกันแค่รูปแบบของใบ ที่จะ
เน้นพืนที่ในส่วนปลายหรือส่วนต้น 2 ซึ่งใน
        ้
การทดสอบกระแสไฟฟ้าจะทดสอบชนิดละ
10 รอบ รอบละ 5 วินาที
           การทดสอบกระแสไฟฟ้าของใบพัด
กังหันลมแต่ละรูปแบบปรากฏว่ากระแสไฟฟ้า
ที่ได้ของแต่ละรูปแบบนั้นต่างกัน โดยรูปแบบ
ที่มีรัศมีการหมุนของมวลที่น้อยจะมีคากระแส
                                   ่
ไฟฟ้าที่มาก
                   รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง
แบบจำาลองใบพัดกังหันลม ฉบับนี้สำาเร็จได้ด้วยความ
อนุเคราะห์ของ บุคคลหลายท่าน ซึงได้แก่ครูที่
                                   ่
ปรึกษาโครงงาน ครูเลิศศักดิ์ ประกอบชัยชนะ ที่ได้
ให้คำาปรึกษาในหลายๆเรื่องในการทำาโครงงานรวม
ทัง ตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ และ
  ้
เพื่อนๆ ทีได้ให้คำาปรึกษาในเรื่องการทำาโครงงาน
            ่
และครูบุญประภา ช่วยชม ครูผู้สอนวิชาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ ทีได้ให้คำาแนะนำาต่าง ๆ รวมถึงผู้
                   ่
ปกครองของพวกเราที่ได้ให้คำาปรึกษาและให้กำาลังใจ
คอยช่วยเหลืออยู่เสมอ
                   ขอขอบคุณโรงเรียนสตูลวิทยาที่
ให้การสนับสนุนในเรื่องงบประมาณในการทำาโครง
งานทำาให้โครงงานนีสำาเร็จลุลวงได้ด้วยดี
                        ้     ่
บทที่ 1
                  บทนำา
      ที่ม าและความสำา คัญ
       ปัจจุบนเกิดวิกฤติทางด้านพลังงานไปทั่วโลก
             ั
สำาหรับพลังงานหลักของประเทศไทย 79% มา
จากนำ้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ
ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ส่วนใหญ่ถูกนำา
ไปใช้ในกิจกรรมขนส่ง ซึ่งเป็นกิจกรรม ที่มีความ
สำาคัญต่อภาคเศรษฐกิจและสังคม ดังนันการ
                                     ้
ขาดแคลนพลังงานดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อชีวิต
ความเป็นอยู่และระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก
ด้วยเหตุนี้ภาครัฐจึงต้องวางแผนงานรองรับการ
จัดหา หรือการผลิตเชือเพลิงเพื่อใช้ในกิจกรรม
                       ้
เหล่านี้ให้เพียงพอ
ลมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งเกิด
จากความแตกต่าง
ของอุณหภูมิ ความกดดันของบรรยากาศและแรง
จากการหมุนของ
โลก สิงเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลม
        ่
และกำาลังลม เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลมเป็น
พลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเอง ซึ่งในบางครั้งแรง
ที่เกิดจากลมอาจทำาให้บ้านเรือนที่อยู่อาศัยพัง
ทลายต้นไม้ หักโค่นลง สิงของวัตถุต่างๆ ล้มหรือ
                          ่
ปลิวลอยไปตามลม ฯลฯ
ในปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสำาคัญ
และนำาพลังงานจากลมมาใช้ประโยชน์มาก
ขึ้น เนื่องจากพลังงานลมมีอยูโดยทั่วไป ไม่
                              ่
ต้องซื้อหา เป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิด
อันตรายต่อสภาพแวดล้อม และสามารถนำา
มาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมดสิน ้
      กังหันลม คือ เครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่
สามารถรับพลังงานจลน์จากการเคลื่อนที่
ของลมให้ เป็นพลังงานกลได้ จากนั้นนำา
พลังงานกลมาใช้ประโยชน์โดยตรงหรือใน
ปัจจุบันใช้ผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า 
การพัฒนากังหันลมเพื่อใช้ประโยชน์มี
มาตั้งแต่ชนชาวอียปต์โบราณและมีความต่อ
                    ิ
เนื่องถึงปัจจุบน โดยการออกแบบกังหันลม
               ั
จะต้องอาศัยความรู้ทางด้านพลศาสตร์ของ
ลมและหลัก วิศวกรรมศาสตร์ในแขนงต่างๆ
เพื่อให้ได้กำาลังงาน พลังงาน และ
ประสิทธิภาพสูงสุด   ดังนั้นกลุ่มของกระผม
จึงมีแนวคิดที่จะผลิตกังหันลมรูปแบบใหม่
ขึ้นมามาเพื่อสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้พอ
ตามความต้องการของมนุษย์ ด้วยการนำารูป
แบบของกังหันลมชนิดแนวแกนนอน ชนิด
ต่างๆเพือมาทดลองแล้วเปรียบเทียบ
         ่
 
เพื่อศึกษารูปร่างของกังหันลมที่มีผลต่อ กระแส
ไฟฟ้าที่ผลิตได้
     สมมติฐ าน
กังหันลมที่มีรูปแบบใบพัดที่ต่างกัน จะส่งผลให้
กระแสไฟฟ้าที่ได้ต่างกัน
     ตัว แปรที่เ กี่ย วข้อ ง
ตัว แปรต้น          รูปแบบใบกังหัดลมชนิด
ต่างๆ ของกังหันลมชนิด
   แนวแกนนอนและรูปแบบใบของกังหันลมที่ผลิต
ขึ้นเอง
ตัว แปรตาม         กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จาก
กังหันลม
ตัว แปรที่ค วบคุม ความเร็วลม,สถานที่,ขนาด
ของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า,ขนาด
บทที่ 2
               เอกสารและทฤษฎีท ี่
เกี่ย วข้อ ง
     ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสาร
และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และได้นำาเสนอตามหัวข้อ
ต่อไปนี้
         1.ความรู้เกี่ยวกับเรื่องพลังงานลม
         2.ความรู้เกี่ยวกับเรื่องกังหันลม
         3.หลักการของไดนาโม
         4.โมเมนต์ความเฉื่อย
         5.กระแสไฟฟ้า

 
บทที่ 3
          วิธ ีด ำา เนิน การทดลอง
วัส ดุอ ป กรณ์
        ุ
  1.ไม้กระดานอัด        9.เครื่องเจียร์(ลูกหมู)
  2. ฟิวเจอร์บอร์ด
  3. เลื่อย              10.มีดคัตเตอร์
  4. แกนเพลาของ          11.สว่าน
  ไดนาโม
  5. ดินสอตีเส้น         12.ไม้ขนาด 2 x 1.5
  6. น็อต               นิ้ว
  7. กาวร้อน             13.เครื่องวัดกระแส
   8. เครื่องกำาเนิด    ไฟฟ้าแบบดิจตอลิ
  ไฟฟ้า (ไดนาโม)        (AC/DC Digital
                        Multitester)
ขั้น ตอนการดำา เนิน งาน
 ขัน ตอนที่ 1 การประดิษ ฐ์ใ บพัด
    ้
 กัง หัน ลมและตัว กัง หัน ลม
         1.1 ทำาการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลัก
 การของไดนาโม
            1.2 ออกแบบใบพัดของกังหันลม
 โดยทำาจากฟิวเจอร์บอร์ด
            1.3 นำาใบพัดกังหันลมชนิดต่างๆ
 และตัวกังหันลมมาปรึกษากับครูที่ปรึกษา
            1.4 ลงมือประดิษฐ์โดยนำาไม้มาส
 ร้างเป็นฐานของกันหันลมจากนั้นนำาไดนาโมมา
ชนิด A   ชนิด B   ชนิด C
ชนิด D
ภาพที่ 3.1 การออกแบบใบพัดกังหันลม
               ภาพที่ 3.2 การทำาฐานของกังหันลม




                          ภาพที่ 3.3 การทำา
                          แกนเสีย บใบพัด กัง หัน
                          ลม
จอร์บอร์ดเพื่อนำามา                                  ภาพที่ 3.5 การปร
                                                      เสียบ
ขั้น ตอนที่ 2 การทดสอบประสิท ธิภ าพ
การทำา งานของ
       2.1การนำาใบพัดที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นประกอบ
เข้ากับแกนเสียบใบพัด โดยใช้ใบพัดทั้งหมด 8
ใบ ในแต่ละชนิดต่อการทดสอบ
       2.2ทำาการทดสอบเพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า
โดยจะเริ่มวัดกระแสไฟฟ้าเมื่อใบพัดหมุนคงที่
       2.3ถ่ายวิดีโอขณะทำาการทดลองเพี่อนำามา
อ่านค่ากระแสไฟฟ้า โดยถ่ายครั้งละ 5 วินาที
       2.4ทำาการทดลองซำ้าจำานวน 10 ครั้ง ต่อ
แต่ละชนิดของใบพัด
ขั้น ตอนที่ 3 การบัน ทึก ผลการ
ทดลอง
      3.1นำาวีดีโอที่ถ่ายไว้มาดูเพืออ่านค่า
                                    ่
กระแสไฟฟ้า
      3.2บันทึกค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านค่าได้
ลงในตาราง
      3.3นำาค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านค่าได้ใน
แต่ละค่ามาหาค่าเฉลี่ยและนำามาสร้างกราฟ
      3.4นำาค่าเฉลี่ยที่หาค่าได้ทั้งหมด 10
ครั้งของใบพัดแต่ละชนิด มาหาค่าเฉลี่ยรวม
      3.5นำาค่าเฉลี่ยรวมของใบพัดทั้ง 4
ชนิดมาเปรียบเทียบกันโดยใช้แผนถูมิแท่ง
บทที่ 4
                           ผลการทดลอง  
          จากการดำาเนินการในการออกแบบใบพัดกังหันลม โดย
เริ่มตั้งแต่กระบวนการสร้างอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบต่างๆของ
กังหันลม จนกระทั่งทดสอบกระแสไฟฟ้าที่ได้จากใบพัดแต่ละชนิด
ผลการทดลอง ดังนี้
ตารางที่ 1 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าที่ได้จากใบพัดรูปแบบ A
จำานวน ครั้ง ทีครั้ง ผลการทดลองวิ(mA)
          10 ่        ครั้งละ 5 นาที
                   14.72
        1
        2          14.32
                           *จากตารางที่ 1 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 คร
        3          13.88                   เท่ากับ 14.41 mA
        4          13.95
        5          14.18
        6          14.20
        7          15.15
        8          15.13
        9          14.73
       10          13.82
      เฉลี่ย       14.41
กราฟที่ 1 ผลการทดลองใบพัดรูปแบบ A
ตารางที่ 2 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จาก
                                          ่
    ใบพัดรูปแบบ B จำานวน 10 ครั้ง ครั้งละ 5 วินาที
              ครั้ง ที่   ผลการทดลอง (mA)
                 1             14.43
                 2             14.64
                 3             14.57
                 4             14.52
                 5             14.35
                 6             14.28
                 7             14.57
                 8             14.34
                 9             14.66
                10             14.85
               เฉลี่ย          14.52


ากตารางที่ 2 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทัง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.52 mA
                              ้
กราฟที่ 2 ผลการทดลองใบพัดรูป
           แบบ B
ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดรูปแบบ C จำานวน 10
                        ่
นาที
                ครั้ง ที่   ผลการทดลอง (mA)
                   1             15.06
                   2             14.96
                   3             14.81
                   4             15.34
                   5             15.67
                   6             15.39
                   7             15.35
                   8             15.29
                   9             15.36
                  10             15.40
                เฉลี่ย           15.27


จากตารางที่ 3 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 15.27 mA
กราฟที่ 3 ผลการทดลองใบพัดรูปแบบ C
4 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดรูปแบบ D จำานวน 1
                        ่
 นาที
              ครั้ง ที่       ผลการทดลอง (mA)
                 1                 16.36
                 2                 16.22
                 3                 14.79
                 4                 16.12
                 5                 16.80
                 6                 17.42
                 7                 16.89
                 8                 16.96
                 9                 16.73
                10                 16.38
              เฉลี่ย               16.47


 จากตารางที่ 4 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 16.47 mA
กราฟที่ 4 ผลการทดลองใบพัดรูปแบบ D
แสดงผลการเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยรวมของค่ากระแสไฟฟ้าที่ได้จา
                             A B C และ D
       รูปแบบของ          ค่าเฉลี่ยทั้ง 10 ครั้ง
          ใบพัด
            A                    14.41

            B                    14.52

            C                    15.27

            D                    16.47

ผลการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่า ใบพัดรูปแบบที่ D ให้ค่ากระแ
 มากทีสุด
      ่
ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าโดยเฉลี่ยทีได้จากใบพัดรูปแบบ A B C
                               ่
บทที่ 5
      สรุป และอภิป รายผลการทดลอง
       จากการทดสอบกระแสไฟฟ้าของใบพัดกังหัน
ลมทัง 4 ชนิด พบว่ากระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดใน
     ้                         ่
แต่ละรูปแบบ มีผลออกมาต่างกัน เนื่องจากใบพัด
กังหันลมมีรูปร่างทีต่างกัน
                   ่
สรุป ผล
    จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ A ได้ค่าเฉลี่ย
รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.41 mA
       จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ B ได้ค่าเฉลี่ย
รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.52 mA
       จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ C ได้ค่าเฉลี่ย
รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 15.28 mA
       จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ D ได้ค่าเฉลีย่
รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 16.47 mA
จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ A B C และ
D ซึ่งเห็นได้ว่าใบพัดทีรูปแบบต่างกันจะให้กระแสไฟฟ้า
                       ่
ทีต่างกันด้วย ซึ่งผลการทดลองตรงกับสมมติฐานทีตั้งไว้
  ่                                           ่
และสามารถหารูปแบบใบพัดกังหันลมที่สามารถให้กระแส
ไฟฟ้าทีดีทสุดซึ่งให้กระแสไฟฟ้าได้มากกว่ารูปแบบอื่น
        ่ ี่
นันก็คือใบพัดกังหันลมรูปแบบ D ซึ่งเป็นไปตามจุด
    ้
ประสงค์ของโครงงานนี้
อภิป รายผลการทดลอง
       ในการทดลองครั้งนีเราได้ใบพัดกังหันลมรูปแบบ
                           ้
D ทีให้กระแสไฟฟ้ามากทีสุด เนื่องจากมีรัศมีการหมุน
    ่                    ่
ของมวล น้อยที่สด ซึ่งทำาให้โมเมนต์ความเฉื่อยลดลง ส่ง
                  ุ
ผลให้ความเร็วเชิงมุมมีค่ามากกว่าใบพัดกังหันลมรูปแบบ
A B และ C โดยกระแสไฟฟ้าทีได้จะเพิ่มขึ้นตามรัศมีการ
                             ่
หมุนของมวลทีลดลง่
       ถึงแม้ว่าในกระบวนการดำาเนินงานแต่ละขั้นตอนจะ
เกิดปัญหาขึ้น ทางผู้ทำาโครงงานก็สามารถใช้วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมถึง
ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์แก้ปัญหาทีเกิดขึ้นได้ ทำาให้
                                     ่
สามารถทำาการทดลองกระแสไฟฟ้าทีได้จากกังหันลมทีมี
                                   ่               ่
ใบพัดต่างชนิดกันจนสำาเร็จไปได้
อุป สรรคและข้อ เสนอ
แนะ
       จากการสร้างชุดกังหันลมจำาลอง เพือทำาการ
                                          ่
ทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดกังหันลมทีมรูปแบบ
                       ่                    ่ ี
ต่างกัน ยังมีส่วนทีจะต้องปรับปรุงแก้ไขในบางส่วน ได้แก่
                   ่
แกนของไดนาโมและแกนเสียบใบพัดกังหันลม มีการหมุน
ทีไม่สมำ่าเสมอ ทำาให้ค่าของกระแสไฟฟ้าทีได้ไม่คงทีเกิด
  ่                                     ่        ่
ดารกระชากในบางครั้งซึ่งเห็นได้จากกราฟแสดงผลการ
ทดลอง ซึ่งหากสามารถแก้ปัญหาข้างต้นนี้ได้ก็จะทำาให้
ค่าของกระแสไฟฟ้ามีความคงที่ และสามารถเห็นความ
แตกต่างของใบพัดในแต่ละรูปแบบได้อย่างชัดเจนและผล
การทดลองนี้สามารถนำาไปเป็นต้นแบบใบพัดของกังหัน
ลมทีสามารถใช้ได้จริง
     ่
เอกสารอ้า งอิง
พลังงานลม (ออนไลน์).(2553).สืบค้นจาก:

http://www.thaitap.com/ewtadmin85/ewt/th
aitap_web/ewt_news.php?nid=402
       [15 พฤษภาคม 2555 ]
กังหันลม (ออนไลน์).(2553).สืบค้นจาก:
       http://www.dede.go.th [28 พฤษภาคม
2555 ]
หลักของไดนาโม (ออนไลน์).(2552).สืบค้นจาก:

http://www.trueplookpanya.com/true/knowle
dge_detail.php [20 ตุลาคม 2555 ]

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 

Mais procurados (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 

Semelhante a โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์

บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56krupornpana55
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 

Semelhante a โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ (9)

บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
Lecture 6 aft
Lecture 6 aftLecture 6 aft
Lecture 6 aft
 
คอนไทย
คอนไทยคอนไทย
คอนไทย
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
 
Rain chain 609
Rain chain 609Rain chain 609
Rain chain 609
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์

  • 1. โครงงานวิท ยาศาสตร์ แบบจำา ลองใบพัด กัง หัน ลม โดย นายอมรเทพ ศรีเมฆ นายอัซรอน แก้วสลำา ครูท ี่ป รึก ษา คุณครูเลิศศักดิ์ ประกอบชัยชนะ
  • 2. บทคัด ย่อ จากปัจจุบันนี้โลกของเราได้ประสบ ปัญหาภาวะโลกร้อนและได้มีการรณรงค์ ให้ใช้พลังงานทดจากธรรมชาติซึ่ง พลังงานธรรมชาติเช่นพลังงานลม พลังงานนำ้า พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น คณะผูจัดทำาได้คำานึงถึงเรื่องพลังงาน ้ ธรรมชาติที่ไม่ต้องใช้ต้นทุนอะไรมากและ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาโลกร้อน โดยเฉพาะ พลังงานลม จึงได้ประดิษฐ์แบบจำาลอง
  • 3. แบบจำาลองกังหันลมจะประกอบด้วย ส่วนที่สำาคัญหลัก คือส่วนใบพัดเนื่องจาก กระแส ส่วนใหญ่แล้วพลังธรรมชาติที่ใช้ก็จะ เป็น พลังงานนำ้า กับ พลังงานแสงอาทิตย์ ซึง ่ ใช้พนทีในการติดตั้งอย่างมาก โดยเฉพาะ ื้ ่ พลังงานนำ้าที่ต้องตัดต้นไม้ไปมากเพื่อใช้ สร้างเขือน แต่พลังงานลมนันสามารถติดตั้ง ่ ้ ได้ทุกที่ที่มลม คณะผู้จัดทำาเห็นปัญหานี้ จึง ี ได้คดประดิษฐ์ใบพัดกังหันลมที่สามารถให้ ิ กระแสไฟฟ้าได้มากที่สด ุ
  • 4. ใบพัดกังหันลมที่เราได้ทดลองนั้นมีด้วย กัน 4 แบบโดยใช้ชอย่อคือแบบA B C และ ื่ D ซึ่งแต่ละแบบเราจะกำาหนดให้ทุกอย่าง เหมือนกันแตกต่างกันแค่รูปแบบของใบ ที่จะ เน้นพืนที่ในส่วนปลายหรือส่วนต้น 2 ซึ่งใน ้ การทดสอบกระแสไฟฟ้าจะทดสอบชนิดละ 10 รอบ รอบละ 5 วินาที การทดสอบกระแสไฟฟ้าของใบพัด กังหันลมแต่ละรูปแบบปรากฏว่ากระแสไฟฟ้า ที่ได้ของแต่ละรูปแบบนั้นต่างกัน โดยรูปแบบ ที่มีรัศมีการหมุนของมวลที่น้อยจะมีคากระแส ่ ไฟฟ้าที่มาก
  • 5.   รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง แบบจำาลองใบพัดกังหันลม ฉบับนี้สำาเร็จได้ด้วยความ อนุเคราะห์ของ บุคคลหลายท่าน ซึงได้แก่ครูที่ ่ ปรึกษาโครงงาน ครูเลิศศักดิ์ ประกอบชัยชนะ ที่ได้ ให้คำาปรึกษาในหลายๆเรื่องในการทำาโครงงานรวม ทัง ตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ และ ้ เพื่อนๆ ทีได้ให้คำาปรึกษาในเรื่องการทำาโครงงาน ่ และครูบุญประภา ช่วยชม ครูผู้สอนวิชาโครงงาน วิทยาศาสตร์ ทีได้ให้คำาแนะนำาต่าง ๆ รวมถึงผู้ ่ ปกครองของพวกเราที่ได้ให้คำาปรึกษาและให้กำาลังใจ คอยช่วยเหลืออยู่เสมอ                    ขอขอบคุณโรงเรียนสตูลวิทยาที่ ให้การสนับสนุนในเรื่องงบประมาณในการทำาโครง งานทำาให้โครงงานนีสำาเร็จลุลวงได้ด้วยดี ้ ่
  • 6. บทที่ 1 บทนำา ที่ม าและความสำา คัญ ปัจจุบนเกิดวิกฤติทางด้านพลังงานไปทั่วโลก ั สำาหรับพลังงานหลักของประเทศไทย 79% มา จากนำ้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ส่วนใหญ่ถูกนำา ไปใช้ในกิจกรรมขนส่ง ซึ่งเป็นกิจกรรม ที่มีความ สำาคัญต่อภาคเศรษฐกิจและสังคม ดังนันการ ้ ขาดแคลนพลังงานดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่และระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ภาครัฐจึงต้องวางแผนงานรองรับการ จัดหา หรือการผลิตเชือเพลิงเพื่อใช้ในกิจกรรม ้ เหล่านี้ให้เพียงพอ
  • 7. ลมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งเกิด จากความแตกต่าง ของอุณหภูมิ ความกดดันของบรรยากาศและแรง จากการหมุนของ โลก สิงเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลม ่ และกำาลังลม เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลมเป็น พลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเอง ซึ่งในบางครั้งแรง ที่เกิดจากลมอาจทำาให้บ้านเรือนที่อยู่อาศัยพัง ทลายต้นไม้ หักโค่นลง สิงของวัตถุต่างๆ ล้มหรือ ่ ปลิวลอยไปตามลม ฯลฯ
  • 8. ในปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสำาคัญ และนำาพลังงานจากลมมาใช้ประโยชน์มาก ขึ้น เนื่องจากพลังงานลมมีอยูโดยทั่วไป ไม่ ่ ต้องซื้อหา เป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิด อันตรายต่อสภาพแวดล้อม และสามารถนำา มาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมดสิน ้ กังหันลม คือ เครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่ สามารถรับพลังงานจลน์จากการเคลื่อนที่ ของลมให้ เป็นพลังงานกลได้ จากนั้นนำา พลังงานกลมาใช้ประโยชน์โดยตรงหรือใน ปัจจุบันใช้ผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า 
  • 9. การพัฒนากังหันลมเพื่อใช้ประโยชน์มี มาตั้งแต่ชนชาวอียปต์โบราณและมีความต่อ ิ เนื่องถึงปัจจุบน โดยการออกแบบกังหันลม ั จะต้องอาศัยความรู้ทางด้านพลศาสตร์ของ ลมและหลัก วิศวกรรมศาสตร์ในแขนงต่างๆ เพื่อให้ได้กำาลังงาน พลังงาน และ ประสิทธิภาพสูงสุด   ดังนั้นกลุ่มของกระผม จึงมีแนวคิดที่จะผลิตกังหันลมรูปแบบใหม่ ขึ้นมามาเพื่อสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้พอ ตามความต้องการของมนุษย์ ด้วยการนำารูป แบบของกังหันลมชนิดแนวแกนนอน ชนิด ต่างๆเพือมาทดลองแล้วเปรียบเทียบ ่  
  • 10. เพื่อศึกษารูปร่างของกังหันลมที่มีผลต่อ กระแส ไฟฟ้าที่ผลิตได้ สมมติฐ าน กังหันลมที่มีรูปแบบใบพัดที่ต่างกัน จะส่งผลให้ กระแสไฟฟ้าที่ได้ต่างกัน ตัว แปรที่เ กี่ย วข้อ ง ตัว แปรต้น รูปแบบใบกังหัดลมชนิด ต่างๆ ของกังหันลมชนิด แนวแกนนอนและรูปแบบใบของกังหันลมที่ผลิต ขึ้นเอง ตัว แปรตาม กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จาก กังหันลม ตัว แปรที่ค วบคุม ความเร็วลม,สถานที่,ขนาด ของเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า,ขนาด
  • 11. บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีท ี่ เกี่ย วข้อ ง ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสาร และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และได้นำาเสนอตามหัวข้อ ต่อไปนี้ 1.ความรู้เกี่ยวกับเรื่องพลังงานลม 2.ความรู้เกี่ยวกับเรื่องกังหันลม 3.หลักการของไดนาโม 4.โมเมนต์ความเฉื่อย 5.กระแสไฟฟ้า  
  • 12. บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน การทดลอง วัส ดุอ ป กรณ์ ุ 1.ไม้กระดานอัด 9.เครื่องเจียร์(ลูกหมู) 2. ฟิวเจอร์บอร์ด 3. เลื่อย 10.มีดคัตเตอร์ 4. แกนเพลาของ 11.สว่าน ไดนาโม 5. ดินสอตีเส้น 12.ไม้ขนาด 2 x 1.5 6. น็อต นิ้ว 7. กาวร้อน 13.เครื่องวัดกระแส 8. เครื่องกำาเนิด ไฟฟ้าแบบดิจตอลิ ไฟฟ้า (ไดนาโม) (AC/DC Digital Multitester)
  • 13. ขั้น ตอนการดำา เนิน งาน ขัน ตอนที่ 1 การประดิษ ฐ์ใ บพัด ้ กัง หัน ลมและตัว กัง หัน ลม 1.1 ทำาการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลัก การของไดนาโม 1.2 ออกแบบใบพัดของกังหันลม โดยทำาจากฟิวเจอร์บอร์ด 1.3 นำาใบพัดกังหันลมชนิดต่างๆ และตัวกังหันลมมาปรึกษากับครูที่ปรึกษา 1.4 ลงมือประดิษฐ์โดยนำาไม้มาส ร้างเป็นฐานของกันหันลมจากนั้นนำาไดนาโมมา
  • 14. ชนิด A ชนิด B ชนิด C ชนิด D
  • 15. ภาพที่ 3.1 การออกแบบใบพัดกังหันลม ภาพที่ 3.2 การทำาฐานของกังหันลม ภาพที่ 3.3 การทำา แกนเสีย บใบพัด กัง หัน ลม จอร์บอร์ดเพื่อนำามา ภาพที่ 3.5 การปร เสียบ
  • 16. ขั้น ตอนที่ 2 การทดสอบประสิท ธิภ าพ การทำา งานของ 2.1การนำาใบพัดที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นประกอบ เข้ากับแกนเสียบใบพัด โดยใช้ใบพัดทั้งหมด 8 ใบ ในแต่ละชนิดต่อการทดสอบ 2.2ทำาการทดสอบเพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า โดยจะเริ่มวัดกระแสไฟฟ้าเมื่อใบพัดหมุนคงที่ 2.3ถ่ายวิดีโอขณะทำาการทดลองเพี่อนำามา อ่านค่ากระแสไฟฟ้า โดยถ่ายครั้งละ 5 วินาที 2.4ทำาการทดลองซำ้าจำานวน 10 ครั้ง ต่อ แต่ละชนิดของใบพัด
  • 17. ขั้น ตอนที่ 3 การบัน ทึก ผลการ ทดลอง 3.1นำาวีดีโอที่ถ่ายไว้มาดูเพืออ่านค่า ่ กระแสไฟฟ้า 3.2บันทึกค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านค่าได้ ลงในตาราง 3.3นำาค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านค่าได้ใน แต่ละค่ามาหาค่าเฉลี่ยและนำามาสร้างกราฟ 3.4นำาค่าเฉลี่ยที่หาค่าได้ทั้งหมด 10 ครั้งของใบพัดแต่ละชนิด มาหาค่าเฉลี่ยรวม 3.5นำาค่าเฉลี่ยรวมของใบพัดทั้ง 4 ชนิดมาเปรียบเทียบกันโดยใช้แผนถูมิแท่ง
  • 18. บทที่ 4 ผลการทดลอง   จากการดำาเนินการในการออกแบบใบพัดกังหันลม โดย เริ่มตั้งแต่กระบวนการสร้างอุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบต่างๆของ กังหันลม จนกระทั่งทดสอบกระแสไฟฟ้าที่ได้จากใบพัดแต่ละชนิด ผลการทดลอง ดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าที่ได้จากใบพัดรูปแบบ A จำานวน ครั้ง ทีครั้ง ผลการทดลองวิ(mA) 10 ่ ครั้งละ 5 นาที 14.72   1 2 14.32 *จากตารางที่ 1 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 คร 3 13.88 เท่ากับ 14.41 mA 4 13.95 5 14.18 6 14.20 7 15.15 8 15.13 9 14.73 10 13.82 เฉลี่ย 14.41
  • 20. ตารางที่ 2 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จาก ่ ใบพัดรูปแบบ B จำานวน 10 ครั้ง ครั้งละ 5 วินาที ครั้ง ที่ ผลการทดลอง (mA) 1 14.43 2 14.64 3 14.57 4 14.52 5 14.35 6 14.28 7 14.57 8 14.34 9 14.66 10 14.85 เฉลี่ย 14.52 ากตารางที่ 2 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทัง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.52 mA ้
  • 22. ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดรูปแบบ C จำานวน 10 ่ นาที ครั้ง ที่ ผลการทดลอง (mA) 1 15.06 2 14.96 3 14.81 4 15.34 5 15.67 6 15.39 7 15.35 8 15.29 9 15.36 10 15.40 เฉลี่ย 15.27 จากตารางที่ 3 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 15.27 mA
  • 24. 4 ผลการทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดรูปแบบ D จำานวน 1 ่ นาที ครั้ง ที่ ผลการทดลอง (mA) 1 16.36 2 16.22 3 14.79 4 16.12 5 16.80 6 17.42 7 16.89 8 16.96 9 16.73 10 16.38 เฉลี่ย 16.47 จากตารางที่ 4 ได้ค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 16.47 mA
  • 26. แสดงผลการเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยรวมของค่ากระแสไฟฟ้าที่ได้จา A B C และ D รูปแบบของ ค่าเฉลี่ยทั้ง 10 ครั้ง ใบพัด A 14.41 B 14.52 C 15.27 D 16.47 ผลการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่า ใบพัดรูปแบบที่ D ให้ค่ากระแ มากทีสุด ่
  • 28. บทที่ 5 สรุป และอภิป รายผลการทดลอง จากการทดสอบกระแสไฟฟ้าของใบพัดกังหัน ลมทัง 4 ชนิด พบว่ากระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดใน ้ ่ แต่ละรูปแบบ มีผลออกมาต่างกัน เนื่องจากใบพัด กังหันลมมีรูปร่างทีต่างกัน ่ สรุป ผล จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ A ได้ค่าเฉลี่ย รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.41 mA จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ B ได้ค่าเฉลี่ย รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 14.52 mA จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ C ได้ค่าเฉลี่ย รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 15.28 mA จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ D ได้ค่าเฉลีย่ รวมทั้ง 10 ครั้ง เท่ากับ 16.47 mA
  • 29. จากผลการทดลองของใบพัดรูปแบบ A B C และ D ซึ่งเห็นได้ว่าใบพัดทีรูปแบบต่างกันจะให้กระแสไฟฟ้า ่ ทีต่างกันด้วย ซึ่งผลการทดลองตรงกับสมมติฐานทีตั้งไว้ ่ ่ และสามารถหารูปแบบใบพัดกังหันลมที่สามารถให้กระแส ไฟฟ้าทีดีทสุดซึ่งให้กระแสไฟฟ้าได้มากกว่ารูปแบบอื่น ่ ี่ นันก็คือใบพัดกังหันลมรูปแบบ D ซึ่งเป็นไปตามจุด ้ ประสงค์ของโครงงานนี้
  • 30. อภิป รายผลการทดลอง ในการทดลองครั้งนีเราได้ใบพัดกังหันลมรูปแบบ ้ D ทีให้กระแสไฟฟ้ามากทีสุด เนื่องจากมีรัศมีการหมุน ่ ่ ของมวล น้อยที่สด ซึ่งทำาให้โมเมนต์ความเฉื่อยลดลง ส่ง ุ ผลให้ความเร็วเชิงมุมมีค่ามากกว่าใบพัดกังหันลมรูปแบบ A B และ C โดยกระแสไฟฟ้าทีได้จะเพิ่มขึ้นตามรัศมีการ ่ หมุนของมวลทีลดลง่ ถึงแม้ว่าในกระบวนการดำาเนินงานแต่ละขั้นตอนจะ เกิดปัญหาขึ้น ทางผู้ทำาโครงงานก็สามารถใช้วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมถึง ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์แก้ปัญหาทีเกิดขึ้นได้ ทำาให้ ่ สามารถทำาการทดลองกระแสไฟฟ้าทีได้จากกังหันลมทีมี ่ ่ ใบพัดต่างชนิดกันจนสำาเร็จไปได้
  • 31. อุป สรรคและข้อ เสนอ แนะ จากการสร้างชุดกังหันลมจำาลอง เพือทำาการ ่ ทดสอบกระแสไฟฟ้าทีได้จากใบพัดกังหันลมทีมรูปแบบ ่ ่ ี ต่างกัน ยังมีส่วนทีจะต้องปรับปรุงแก้ไขในบางส่วน ได้แก่ ่ แกนของไดนาโมและแกนเสียบใบพัดกังหันลม มีการหมุน ทีไม่สมำ่าเสมอ ทำาให้ค่าของกระแสไฟฟ้าทีได้ไม่คงทีเกิด ่ ่ ่ ดารกระชากในบางครั้งซึ่งเห็นได้จากกราฟแสดงผลการ ทดลอง ซึ่งหากสามารถแก้ปัญหาข้างต้นนี้ได้ก็จะทำาให้ ค่าของกระแสไฟฟ้ามีความคงที่ และสามารถเห็นความ แตกต่างของใบพัดในแต่ละรูปแบบได้อย่างชัดเจนและผล การทดลองนี้สามารถนำาไปเป็นต้นแบบใบพัดของกังหัน ลมทีสามารถใช้ได้จริง ่
  • 32. เอกสารอ้า งอิง พลังงานลม (ออนไลน์).(2553).สืบค้นจาก: http://www.thaitap.com/ewtadmin85/ewt/th aitap_web/ewt_news.php?nid=402 [15 พฤษภาคม 2555 ] กังหันลม (ออนไลน์).(2553).สืบค้นจาก: http://www.dede.go.th [28 พฤษภาคม 2555 ] หลักของไดนาโม (ออนไลน์).(2552).สืบค้นจาก: http://www.trueplookpanya.com/true/knowle dge_detail.php [20 ตุลาคม 2555 ]