SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์

                  อ.อธิศ ปทุมวรรณ
                 มหาวิทยาลัยนเรศวร
เนื้อหา
 เซ็ต ฟังก์ชัน และ กราฟ
 ตัวอักษร สตริง และภาษา
 เทคนิคการพิสูจน์
 ไวยากรณ์และออโตมาตา




 2                         ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ความหมายของเซ็ต
เซ็ต (Set) คือ กลุ่มของวัตถุโดยไม่คานึงถึงการจัดเรียง
เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก

      a เป็นสมาชิกของเซ็ต S จะเขียนอยู่ในรูป 𝑎 ∈ 𝑆
      a ไม่เป็นสมาชิกของเซ็ต S จะเขียนอยู่ในรูป 𝑎 ∌ 𝑆

      เซ็ต S ประกอบด้วยสมาชิกคือ a, b c จะเขียนในรูป 𝑆 = { 𝑎, 𝑏, 𝑐}


 3                                         ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ลักษณะของเซ็ต
 เซ็ตจากัด (Finite Set ) ทราบจานวนสมาชิกที่แน่นอน
      𝑆 = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9}
      𝑆 = { 𝑎, 𝑏, 𝑐, … , 𝑧}
 เซ็ตไม่จากัด (Infinite Set) ไม่ทราบจานวนสมาชิกแน่นอน
      𝑆 = { 1, 2, 3, … }
      𝑆 = { 𝑛 | 𝑛 𝑚𝑜𝑑 3 = 0}
 เซ็ตว่าง (Empty Set) ไม่มีจานวนสมาชิกเลย
      𝑆 = { } หรือ 𝑆 = 𝜙
 4                                   ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เซตทีเท่ากัน (Equal Sets)
     ่
 เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อเซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกัน
 เซต A เท่ากับ เซต B แทนด้วย   𝐴= 𝐵
 เซต A ไม่เท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴 ≠ 𝐵

     𝐴 = 𝑎, 𝑏, 𝑐                𝑋 = 0, 1, 3, 5
     𝐵 = 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑             𝑌 = {𝑥|𝑥 ∈ 𝐼 + , 𝑥 < 6}
     𝐶 = {𝑐, 𝑏, 𝑎}              𝑍 = {1, 3, 5, 7}

     𝐴= 𝐵                       𝑋≠ 𝑌
     𝐴= 𝐶                       𝑋≠ 𝑍
 5                                 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalent Sets)
 เซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากัน และ สมาชิกของเซตจับคู่กันได้พอดี
  แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
 เซต A เทียบเท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴 ↔ 𝐵

     𝐴 = 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑      𝑋 = 𝑥 𝑥 ∈ 𝐼+
     𝐵 = 1, 2, 3, 4      𝑌 = {𝑥|𝑥 = 2𝑛, 𝑛 = 1, 2, 3, … }

     𝐴↔ 𝐵                𝑋↔ 𝑌



 6                                 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalent Sets)
 ถ้า 𝐴 = 𝐵 แล้ว 𝐴 ↔ 𝐵
 ถ้า 𝐴 ↔ 𝐵 ไม่อาจสรุปได้ว่า 𝐴 = 𝐵




 7                           ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
สับเซ็ต (Subset)
 การที่เซต A จะเป็นสับเซตของเซต B ได้นั้นสมาชิกทุกตัวของเซต
  A จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B
 เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย 𝐴 ⊂ 𝐵
 เซต B ไม่เป็นสับเซตของเซต C แทนด้วย 𝐵 ⊄ 𝐶



               A      B                     C



 8                                ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
สับเซ็ต (Subset)
 เซ็ตทุกเซ็ตเป็นสับเซ็ตของตนเอง 𝐴⊂ 𝐴
 เซ็ตว่างเป็นสับเซตของทุกเซ็ต ∅ ⊂ 𝐴
 ถ้าเซ็ต 𝐴 ⊂ ∅ แล้ว 𝐴 = ∅
 ถ้า 𝐴 ⊂ 𝐵 และ B ⊂ 𝐶 แล้ว 𝐴 ⊂ 𝐶
 𝐴 = 𝐵 ก็ต่อเมื่อ 𝐴 ⊂ 𝐵 และ B ⊂ 𝐴




 9                                 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เพาเวอร์เซ็ต (Power Set)
 ถ้า A เป็นเซตใด ๆ เพาเวอร์ของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นสับ
  เซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P(A)
      𝐴=∅
      𝑃(𝐴) = ∅

      𝐵 = {𝑎}
      𝑃(𝐵) = ∅, {𝑎}
      C = {𝑎, 𝑏}
       𝑃(𝐶) = ∅, {𝑎}, {𝑏}, {𝑎, 𝑏}

 10                                 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เอกภพสัมพัทธ์
 เซตที่ถูกกาหนดขึ้นโดยมีข้อตกลงว่า จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นสมาชิก
  ของเซตนี้เท่านั้น จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตนี้
  โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์ 𝕌 แทนเซตที่เป็นเอกภพสัมพัทธ์

      𝕌 = 1,2,3                                       𝕌
      𝐴= 𝑥| 𝑥>2
                                                               1            2




 11                                    ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เอกภพสัมพัทธ์ (ตัวอย่าง)
กาหนดให้
      𝕌=        𝑥| 𝑥 ∈ℕ
      𝐸=        𝑥| 𝑥<5
      𝐹=        𝑥 3 < 𝑥 < 7}

จะเห็นว่าขอบเขตของสมาชิกเป็น 1, 2, 3, 4, …
       ดังนั้น 𝐸 = 1, 2, 3, 4
       และ 𝐹 = {4, 5, 6}

 12                              ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
เอกภพสัมพัทธ์ (ตัวอย่าง)
กาหนดให้
         𝕌= 𝑥| 𝑥 ∈ℕ
         𝐸= 𝑥| 𝑥<5
         𝐹 = 𝑥 3 < 𝑥 < 7}
จะเห็นว่าขอบเขตของสมาชิกเป็น 1, 2, 3, 4, …
       ดังนั้น 𝐸 = 1, 2, 3, 4
       และ 𝐹 = {4, 5, 6}


 13                              ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
การดาเนินการที่ทากับเซ็ต (Set Operation)
   ปฏิบัติการระหว่างเซต คือ การนาเซตต่าง ๆ มากระทากันเพื่อให้เกิด
    เป็นเซตใหม่ได้ ซึ่งทาได้ 4 วิธี คือ
       ยูเนียน (Union) ยูเนียนของเซต A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก
        ของเซต A หรือ B
       อินเตอร์เซคชัน (Intersection) อินเตอร์เซคชันของเซต A และ B คือเซตที่
        ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A และ B
       คอมพลีเมนต์ (Complement) คอมพลีเมนต์ของเซต A คือเซตที่
        ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์
        แต่ไม่เป็นสมาชิกของ A
       ผลต่างของเซต (Difference) ผลต่างของเซต A และ B คือเซตที่
        ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B

14                                          ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ยูเนียน (Union)
     𝑆1 ∪ 𝑆2 = {𝑎|𝑎 ∈ 𝑆1 𝑜𝑟 𝑎 ∈ 𝑆2 }

     𝕌=    1, 2, 3, … , 20                            𝕌
     𝐴=    1, 2, 3, 4, 5, 6
     𝐵=    2, 4, 6, 8, 10                                                          B
                                                           A
     𝐴∪   𝐵 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 10}




15                                        ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
อินเตอร์เซกชัน (Intersection)
     𝑆1 ∩ 𝑆2 = {𝑎|𝑎 ∈ 𝑆1 𝑎𝑛𝑑 𝑎 ∈ 𝑆2 }

     𝕌=    1, 2, 3, … , 20                  𝕌
     𝐴=    1, 2, 3, 4, 5, 6
     𝐵=    2, 4, 6, 8, 10                          𝐴                      𝐵
     𝐴∩   𝐵 = {2, 4, 6}




16                              ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
คอมพลีเมนต์ (Complement)
     𝐴′ =   𝑥 ∈ 𝕌   𝑥 ∉ 𝐴}

     𝕌 = 2, 3,5,7                        𝕌
     𝐴 = 2, 7
     𝐴′ = 3, 5                                                 𝐴
                                             𝐴′




17                           ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
ผลต่างของเซต (Difference)
     𝐴− 𝐵 =    𝑥 ∈ 𝐴    𝑥 ∉ 𝐵}

     𝐴 = 1, 2,3,4,5,6                        𝕌
     𝐵 = 3,4
     𝐴 − 𝐵 = 1,2,5,6                                𝐴                  𝐵




18                               ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับจานวนต่าง ๆ ที่ควรทราบ
สัญลักษณ์    ความหมาย
        ℕ    เซตของจานวนนับ
        ℤ    เซตของจานวนเต็ม
       ℤ+    เซตของจานวนเต็มบวก
       ℤ−    เซตของจานวนเต็มลบ
        ℝ    เซ็ตของจานวนจริง

       ℝ+    เซ็ตของจานวนจริงบวก
       ℝ−    เซ็ตของจานวนจริงลบ

19                                 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados (18)

Pat15803
Pat15803Pat15803
Pat15803
 
Pat15510
Pat15510Pat15510
Pat15510
 
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
Pat15210
Pat15210Pat15210
Pat15210
 
1 posttest
1 posttest1 posttest
1 posttest
 
Pat15704
Pat15704Pat15704
Pat15704
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
 
Pat15711
Pat15711Pat15711
Pat15711
 
Pat56March
Pat56MarchPat56March
Pat56March
 
Pat15810
Pat15810Pat15810
Pat15810
 
01real
01real01real
01real
 
Chapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsChapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics tools
 
Pat15903
Pat15903Pat15903
Pat15903
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
Pat1 พ.ย. 57
Pat1 พ.ย. 57Pat1 พ.ย. 57
Pat1 พ.ย. 57
 
Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 

Semelhante a Chapter 01 mathmatics tools (slide)

Chapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsChapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsAtit Patumvan
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555IRainy Cx'cx
 
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551nampeungnsc
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556Rungthaya
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1aungdora57
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557jjrrwnd
 
exam57
exam57exam57
exam57sarwsw
 

Semelhante a Chapter 01 mathmatics tools (slide) (20)

Chapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsChapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics tools
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
 
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
 
math
mathmath
math
 
exam57
exam57exam57
exam57
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้นทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 

Mais de Atit Patumvan

Iot for smart agriculture
Iot for smart agricultureIot for smart agriculture
Iot for smart agricultureAtit Patumvan
 
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)Atit Patumvan
 
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ตแบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ตAtit Patumvan
 
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556Atit Patumvan
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8Atit Patumvan
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7Atit Patumvan
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6Atit Patumvan
 
Computer Programming Chapter 5 : Methods
Computer Programming Chapter 5 : MethodsComputer Programming Chapter 5 : Methods
Computer Programming Chapter 5 : MethodsAtit Patumvan
 
Computer Programming Chapter 4 : Loops
Computer Programming Chapter 4 : Loops Computer Programming Chapter 4 : Loops
Computer Programming Chapter 4 : Loops Atit Patumvan
 
Introduction to Java EE (J2EE)
Introduction to Java EE (J2EE)Introduction to Java EE (J2EE)
Introduction to Java EE (J2EE)Atit Patumvan
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5Atit Patumvan
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4Atit Patumvan
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3Atit Patumvan
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2Atit Patumvan
 
Computer Programming: Chapter 1
Computer Programming: Chapter 1Computer Programming: Chapter 1
Computer Programming: Chapter 1Atit Patumvan
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1Atit Patumvan
 
Write native iPhone applications using Eclipse CDT
Write native iPhone applications using Eclipse CDTWrite native iPhone applications using Eclipse CDT
Write native iPhone applications using Eclipse CDTAtit Patumvan
 
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic BindingChapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic BindingAtit Patumvan
 
OOP Chapter 8 : Inheritance
OOP Chapter 8 : InheritanceOOP Chapter 8 : Inheritance
OOP Chapter 8 : InheritanceAtit Patumvan
 

Mais de Atit Patumvan (20)

Iot for smart agriculture
Iot for smart agricultureIot for smart agriculture
Iot for smart agriculture
 
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)
An Overview of eZee Burrp! (Philus Limited)
 
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ตแบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
แบบฝึกหัดวิชา Theory of Computation ชุดที่ 1 เซ็ต
 
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556
รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีงบประมาณ 2556
 
Media literacy
Media literacyMedia literacy
Media literacy
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 8
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 7
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 6
 
Computer Programming Chapter 5 : Methods
Computer Programming Chapter 5 : MethodsComputer Programming Chapter 5 : Methods
Computer Programming Chapter 5 : Methods
 
Computer Programming Chapter 4 : Loops
Computer Programming Chapter 4 : Loops Computer Programming Chapter 4 : Loops
Computer Programming Chapter 4 : Loops
 
Introduction to Java EE (J2EE)
Introduction to Java EE (J2EE)Introduction to Java EE (J2EE)
Introduction to Java EE (J2EE)
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 5
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 4
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 3
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 2
 
Computer Programming: Chapter 1
Computer Programming: Chapter 1Computer Programming: Chapter 1
Computer Programming: Chapter 1
 
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1
การบริหารเชิงคุณภาพ ชุดที่ 1
 
Write native iPhone applications using Eclipse CDT
Write native iPhone applications using Eclipse CDTWrite native iPhone applications using Eclipse CDT
Write native iPhone applications using Eclipse CDT
 
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic BindingChapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
Chapter 9 : Polymorphism, Dynamic Typing, and Dynamic Binding
 
OOP Chapter 8 : Inheritance
OOP Chapter 8 : InheritanceOOP Chapter 8 : Inheritance
OOP Chapter 8 : Inheritance
 

Chapter 01 mathmatics tools (slide)

  • 1. ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ อ.อธิศ ปทุมวรรณ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2. เนื้อหา  เซ็ต ฟังก์ชัน และ กราฟ  ตัวอักษร สตริง และภาษา  เทคนิคการพิสูจน์  ไวยากรณ์และออโตมาตา 2 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 3. ความหมายของเซ็ต เซ็ต (Set) คือ กลุ่มของวัตถุโดยไม่คานึงถึงการจัดเรียง เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก a เป็นสมาชิกของเซ็ต S จะเขียนอยู่ในรูป 𝑎 ∈ 𝑆 a ไม่เป็นสมาชิกของเซ็ต S จะเขียนอยู่ในรูป 𝑎 ∌ 𝑆 เซ็ต S ประกอบด้วยสมาชิกคือ a, b c จะเขียนในรูป 𝑆 = { 𝑎, 𝑏, 𝑐} 3 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 4. ลักษณะของเซ็ต  เซ็ตจากัด (Finite Set ) ทราบจานวนสมาชิกที่แน่นอน 𝑆 = { 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9} 𝑆 = { 𝑎, 𝑏, 𝑐, … , 𝑧}  เซ็ตไม่จากัด (Infinite Set) ไม่ทราบจานวนสมาชิกแน่นอน 𝑆 = { 1, 2, 3, … } 𝑆 = { 𝑛 | 𝑛 𝑚𝑜𝑑 3 = 0}  เซ็ตว่าง (Empty Set) ไม่มีจานวนสมาชิกเลย 𝑆 = { } หรือ 𝑆 = 𝜙 4 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 5. เซตทีเท่ากัน (Equal Sets) ่  เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อเซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกัน  เซต A เท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴= 𝐵  เซต A ไม่เท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴 ≠ 𝐵 𝐴 = 𝑎, 𝑏, 𝑐 𝑋 = 0, 1, 3, 5 𝐵 = 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 𝑌 = {𝑥|𝑥 ∈ 𝐼 + , 𝑥 < 6} 𝐶 = {𝑐, 𝑏, 𝑎} 𝑍 = {1, 3, 5, 7} 𝐴= 𝐵 𝑋≠ 𝑌 𝐴= 𝐶 𝑋≠ 𝑍 5 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 6. เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalent Sets)  เซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากัน และ สมาชิกของเซตจับคู่กันได้พอดี แบบหนึ่งต่อหนึ่ง  เซต A เทียบเท่ากับ เซต B แทนด้วย 𝐴 ↔ 𝐵 𝐴 = 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 𝑋 = 𝑥 𝑥 ∈ 𝐼+ 𝐵 = 1, 2, 3, 4 𝑌 = {𝑥|𝑥 = 2𝑛, 𝑛 = 1, 2, 3, … } 𝐴↔ 𝐵 𝑋↔ 𝑌 6 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 7. เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalent Sets)  ถ้า 𝐴 = 𝐵 แล้ว 𝐴 ↔ 𝐵  ถ้า 𝐴 ↔ 𝐵 ไม่อาจสรุปได้ว่า 𝐴 = 𝐵 7 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 8. สับเซ็ต (Subset)  การที่เซต A จะเป็นสับเซตของเซต B ได้นั้นสมาชิกทุกตัวของเซต A จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B  เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย 𝐴 ⊂ 𝐵  เซต B ไม่เป็นสับเซตของเซต C แทนด้วย 𝐵 ⊄ 𝐶 A B C 8 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 9. สับเซ็ต (Subset)  เซ็ตทุกเซ็ตเป็นสับเซ็ตของตนเอง 𝐴⊂ 𝐴  เซ็ตว่างเป็นสับเซตของทุกเซ็ต ∅ ⊂ 𝐴  ถ้าเซ็ต 𝐴 ⊂ ∅ แล้ว 𝐴 = ∅  ถ้า 𝐴 ⊂ 𝐵 และ B ⊂ 𝐶 แล้ว 𝐴 ⊂ 𝐶  𝐴 = 𝐵 ก็ต่อเมื่อ 𝐴 ⊂ 𝐵 และ B ⊂ 𝐴 9 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 10. เพาเวอร์เซ็ต (Power Set)  ถ้า A เป็นเซตใด ๆ เพาเวอร์ของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นสับ เซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P(A) 𝐴=∅ 𝑃(𝐴) = ∅ 𝐵 = {𝑎} 𝑃(𝐵) = ∅, {𝑎} C = {𝑎, 𝑏} 𝑃(𝐶) = ∅, {𝑎}, {𝑏}, {𝑎, 𝑏} 10 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 11. เอกภพสัมพัทธ์  เซตที่ถูกกาหนดขึ้นโดยมีข้อตกลงว่า จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นสมาชิก ของเซตนี้เท่านั้น จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตนี้ โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์ 𝕌 แทนเซตที่เป็นเอกภพสัมพัทธ์ 𝕌 = 1,2,3 𝕌 𝐴= 𝑥| 𝑥>2 1 2 11 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 12. เอกภพสัมพัทธ์ (ตัวอย่าง) กาหนดให้ 𝕌= 𝑥| 𝑥 ∈ℕ 𝐸= 𝑥| 𝑥<5 𝐹= 𝑥 3 < 𝑥 < 7} จะเห็นว่าขอบเขตของสมาชิกเป็น 1, 2, 3, 4, … ดังนั้น 𝐸 = 1, 2, 3, 4 และ 𝐹 = {4, 5, 6} 12 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 13. เอกภพสัมพัทธ์ (ตัวอย่าง) กาหนดให้ 𝕌= 𝑥| 𝑥 ∈ℕ 𝐸= 𝑥| 𝑥<5 𝐹 = 𝑥 3 < 𝑥 < 7} จะเห็นว่าขอบเขตของสมาชิกเป็น 1, 2, 3, 4, … ดังนั้น 𝐸 = 1, 2, 3, 4 และ 𝐹 = {4, 5, 6} 13 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 14. การดาเนินการที่ทากับเซ็ต (Set Operation)  ปฏิบัติการระหว่างเซต คือ การนาเซตต่าง ๆ มากระทากันเพื่อให้เกิด เป็นเซตใหม่ได้ ซึ่งทาได้ 4 วิธี คือ  ยูเนียน (Union) ยูเนียนของเซต A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ของเซต A หรือ B  อินเตอร์เซคชัน (Intersection) อินเตอร์เซคชันของเซต A และ B คือเซตที่ ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A และ B  คอมพลีเมนต์ (Complement) คอมพลีเมนต์ของเซต A คือเซตที่ ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์ แต่ไม่เป็นสมาชิกของ A  ผลต่างของเซต (Difference) ผลต่างของเซต A และ B คือเซตที่ ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B 14 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 15. ยูเนียน (Union) 𝑆1 ∪ 𝑆2 = {𝑎|𝑎 ∈ 𝑆1 𝑜𝑟 𝑎 ∈ 𝑆2 } 𝕌= 1, 2, 3, … , 20 𝕌 𝐴= 1, 2, 3, 4, 5, 6 𝐵= 2, 4, 6, 8, 10 B A 𝐴∪ 𝐵 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 10} 15 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 16. อินเตอร์เซกชัน (Intersection) 𝑆1 ∩ 𝑆2 = {𝑎|𝑎 ∈ 𝑆1 𝑎𝑛𝑑 𝑎 ∈ 𝑆2 } 𝕌= 1, 2, 3, … , 20 𝕌 𝐴= 1, 2, 3, 4, 5, 6 𝐵= 2, 4, 6, 8, 10 𝐴 𝐵 𝐴∩ 𝐵 = {2, 4, 6} 16 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 17. คอมพลีเมนต์ (Complement) 𝐴′ = 𝑥 ∈ 𝕌 𝑥 ∉ 𝐴} 𝕌 = 2, 3,5,7 𝕌 𝐴 = 2, 7 𝐴′ = 3, 5 𝐴 𝐴′ 17 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 18. ผลต่างของเซต (Difference) 𝐴− 𝐵 = 𝑥 ∈ 𝐴 𝑥 ∉ 𝐵} 𝐴 = 1, 2,3,4,5,6 𝕌 𝐵 = 3,4 𝐴 − 𝐵 = 1,2,5,6 𝐴 𝐵 18 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ
  • 19. สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับจานวนต่าง ๆ ที่ควรทราบ สัญลักษณ์ ความหมาย ℕ เซตของจานวนนับ ℤ เซตของจานวนเต็ม ℤ+ เซตของจานวนเต็มบวก ℤ− เซตของจานวนเต็มลบ ℝ เซ็ตของจานวนจริง ℝ+ เซ็ตของจานวนจริงบวก ℝ− เซ็ตของจานวนจริงลบ 19 ทฤษฎีการคานวณ: ทาความรู้จักกับทฤษฎีการคานวณ