SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ 3 รหัสวิชา ค32101 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ความน่ าจะเป็ น เรื่อง กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ เวลา 1 ชั่วโมง
                                                                      ้        ่
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. สาระสาคัญ
             ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์บ่งบอกถึงโอกาสที่เหตุการณ์น้ นเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใด
                                                                                    ั
2. สาระที่ 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น
3. มาตรฐานการเรียนรู้
 มาตรฐาน ค                 5.2 ใช้วธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์
                                     ิ
ได้อย่างสมเหตุสมผล
             มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร
การสื่ อความหมายทางคณิ ตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์
                                ั
และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
4. ตัวชี้วดั
             ค 5.2 ม.4-6/2 อธิ บายการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ ความน่เป็จะของเหตุการณ์ และนาผลที่ได้
                                                                              าน
ไปใช้คาดการณ์ในสถานการณ์ที่กาหนดให้
             ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย
ทางคณิ ตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยง
                ั
คณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
5. จุดประสงค์ การเรียนรู้ นาทาง
 ด้ านความรู้
                แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้
อย่างง่ายได้
 ด้ านทักษะ/กระบวนการ
                1. การให้เหตุผล
                2. ทักษะการแก้ปัญหา
  3. การสื่ อสาร
316

          ด้ านคุณลักษณะ
                  1. ความรับผิดชอบ
                  2. มีระเบียบวินย  ั
 3. ทางานเป็ นระบบรอบคอบ
6. สมรรถนะ
 1) ความสามารถในการสื่ อสาร
 2) ความสามารถในการคิด
 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา
           4) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต    ั       ิ
           5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
          1) ซื่อสัตย์สุจริ ต
           2) มีวนย  ิ ั
           3) ใฝ่ เรี ยนรู้
           4) มุ่งมันในการทางาน
                       ่
           5) รักความเป็ นไทย
8. สาระการเรียนรู้
           1. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
 กฎข้อที่                   1 ถ้าต้องการทางานสองอย่างโดยที่งานอย่างแรกทาได้ n1 วิธี และ
                         ในแต่ละวิธีที่เลือกทางานอย่างแรกนี้มีวธีทางานอย่างที่สองได้ n2 วิธี
                                                               ิ
                         จานวนวิธีที่จะเลือกทางานทั้งสองอย่างเท่ากับ n1n2 วิธี
9. การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 1. ความพอประมาณ
             นาหลักความน่าจะเป็ นมาใช้ในการคาดการณ์ กาหนดสิ่ งต่าง ๆ อย่างพอประมาณ ไม่
มากเกินไปหรื อน้อยเกินไป
 2. ความมีเหตุผล
             รู ้จกนาความรู ้เรื่ อง ความน่าจะเป็ นไปใช้ในการประมาณ คาดการณ์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่าง
                  ั
มีเหตุผล และตัดสิ นใจกระทาสิ่ งต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลและหลักความน่าจะเป็ น
317

 3. การมีภูมิค้ ุมกันในตัวทีดี  ่
                 มีความตะหนักถึงความสาคัญของการคาดการณ์ สิ่ งที่จะเกิดขึ้น เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มี
โอกาสจะเกิดขึ้นทั้งหมด สามารถนามาคิดคานวณล่วงหน้าได้ และวางแผน เตรี ยมการ ความพร้อม
ไว้ได้
 4. เงื่อนไขความรู้
            รู ้จกนาความรู ้เรื่ องความน่าจะเป็ นไปใช้คาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นได้ ทราบเหตุการณ์ที่
                 ั
มีโอกาสที่จะเกิดขึ้น รู ้จกการนับจานวนวิธีท้ งหมดที่เหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเป็ นไปได้ หรื อ
                           ั                     ั
จานวนวิธีในการจัดชุดสิ่ งของต่าง ๆ เช่น การจัดการแข่งขันกีฬา การจัดชุดเสื้ อผ้า เป็ นต้น
           5. เงื่อนไขคุณธรรม
            นาหลักการการความน่าจะเป็ นไปใช้อย่างมีคุณธรรม ซื่ อสัตย์ ประหยัด และอดทน จัด
เหตุการณ์ หรื อวิธีการอย่างเที่ยงตรง ยุติธรรม
10. ภาระงาน
           แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้
อย่างง่ายได้
11. กระบวนการเรียนรู้ รู ปแบบการสอนแบบซิปป้ า (CIPPA MODEL)
           ครู แจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 10 เมื่อนักเรี ยนเรี ยนจบแล้ว
นักเรี ยนจะต้องสามารถ แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้
อย่างง่ายได้
 1. ขั้นทบทวนความรู้ เดิม
                 1. ครู สนทนากับนักเรี ยนทบทวนความรู ้เกี่ยวกับผลคูณคาร์ ทีเชียนโดยใช้การถาม –
ตอบ พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ดังนี้
                    กาหนดให้ A = {a, b, c} , n(A) = 3
                        B = {x, y} , n(B) = 2
                        A  B = {(a, x), (a, y), (b, x), (b, y), (c, x), (c, y)}
                        n(A  B) = 6
                    n(A  B) = n(A)  n(B)
                     เลือกสมาชิกในเซต A ครั้งละตัวได้ 3 วิธี เลือกสมาชิกในเซต B ครั้งละตัว
ได้ 2 วิธี ดังนั้นจานวนวิธีท้ งหมดที่จะเลือกสมาชิกในเซต A แล้วเลือกสมาชิกในเซต B เท่ากับ
                                   ั
3  2 = 6 วิธี ซึ่ งอาจเขียนแผนภาพต้นไม้ช่วยในการคิดได้ดงนี้            ั
318

                      A             B                         ผลลัพธ์
                                    x                         (a, x)
                      a
                                    y                         (a, y)
                                    x                         (b, x)
                      b
                                    y                         (b, y)
                                    x                         (c, x)
                      c
                                    y                         (c, y)

             2. ขั้นแสวงหาความรู้ ใหม่
                2.1 ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน โดยแต่ละกลุ่มคละความสามารถ
                           ั
ให้มีนกเรี ยนกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อนอยูดวยกัน
        ั                                                 ่ ้
                2.2 ครู เขียนโจทย์บนกระดาน แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันหาคาตอบ ดังนี้
                                                           ั
                    1. นักเรี ยนมีกางเกง 2 ตัว คือ กางเกงขาสั้นและกางเกงขายาว และมีเสื้ อ 3 ตัว
คือ เสื้ อสี แดง, สี เขียว และสี ขาว จงหาวิธีที่นกเรี ยนจะเลือกเสื้ อและกางเกงมาใส่ เป็ นชุดที่
                                                     ั
แตกต่างกัน
                    2. นักเรี ยนคนหนึ่งเดินทางจากบ้านไปโรงเรี ยนโดยรถประจาทางได้ 4 สาย และ
เดินทางจากโรงเรี ยนกลับบ้านโดยรถประจาทางได้ 3 สาย จงหาว่านักเรี ยนคนนี้เดินทางไป
โรงเรี ยนและกลับบ้านในแต่ละวันได้กี่วธี     ิ
             3. ขั้นทาความเข้ าใจข้ อมูลใหม่ /เชื่ อมโยงความรู้ เดิม
                ครู ให้นกเรี ยนตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมารับใบความรู ้ที่ 10 แล้วร่ วมกันอภิปราย
                         ั
เกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 โดยครู เดินดูและตอบปัญหาของนักเรี ยน
อย่างใกล้ชิด
             4. ขั้นแลกเปลียนความรู้ กบเพือนในกลุ่ม
                                 ่      ั ่
                4.1 ให้นกเรี ยนแต่ละคนนาเสนอความรู ้ได้ในกลุ่มของตนเอง โดยสรุ ป กฎเกณฑ์
                             ั
เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 ให้เพื่อนฟัง
                4.2 ให้นกเรี ยนสนทนาและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ภายในกลุ่มแล้วช่วยกันสรุ ปความหมาย
                               ั
ของกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 เป็ นความรู ้ของกลุ่มตนเอง
319

           5. สรุ ปและจัดระเบียบความรู้
            5.1 สุ่ มตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
            5.2 ครู นาสนทนา อภิปราย แล้วช่วยกันสรุ ป กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
กฎข้อที่ 1 เป็ นความรู้ของห้องเรี ยน
           6. ขั้นแสดงผลงาน
               6.1 นาผลงานที่สรุ ปเป็ นความรู ้ของชั้นเรี ยน สรุ ปให้นกเรี ยนได้เข้าใจตรงกัน
                                                                      ั
อีกครั้งหนึ่ง โดยครู ช่วยเสริ มในส่ วนที่ยงไม่สมบูรณ์
                                          ั
               6.2 นาผลงานของห้องเรี ยนมาติดบอร์ดเพื่อแสดงผลงาน
           7. ประยุกต์ ใช้ ความรู้
            7.1 ครู แจกแบบฝึ กทักษะที่ 10 ให้นกเรี ยนแต่ละคนได้ลงมือฝึ กปฏิบติ เพื่อทดสอบ
                                                   ั                                  ั
ความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน
            7.2 ครู ให้นกเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจคาตอบตามแบบเฉลยแบบฝึ กทักษะที่ 10
                         ั
และครู บนทึกผลคะแนนที่ได้
         ั

12. สื่ อและอุปกรณ์ การเรียนรู้
 1. ใบความรู้ที่             10
               2. แบบฝึ กทักษะที่ 10
               3. เฉลยแบบฝึ กทักษะที่ 10
13. แหล่ งการเรียนรู้ เพิมเติม
                           ่
               1. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
               2. ห้องสมุดโรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม
 3. ห้องคอมพิวเตอร์
14. การวัดและประเมินผล
 1. สิ่ งที่ตองการวัด
             ้
                  1.1 ด้านความรู้
 1.2 ด้านทักษะ
 1.3 ด้านคุณลักษณะ
 2. เครื่ องมือที่ใช้วดั
                  2.1 แบบประเมินความรู้
 2.2 แบบประเมินทักษะ
320

 2.3 แบบประเมินคุณลักษณะ
 3. วิธีวด
         ั
              3.1 ตรวจผลงาน
 3.2 สังเกตพฤติกรรมและตรวจผลงาน
 3.3 สังเกตพฤติกรรม
 4. เกณฑ์การประเมิน
 4.1 นักเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75
                                    ่
 4.2 นักเรี ยนมีทกษะทางคณิ ตศาสตร์ ผานเกณฑ์ ร้อยละ 75
                  ั
 4.3 นักเรี ยนมีคุณลักษณะผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75
15. หลักฐานการเรียนรู้
           1. ใบความรู้ที่ 10
           2. แบบฝึ กทักษะที่ 10
           3. แบบประเมินด้านความรู้
 4. แบบประเมินทักษะ
           5. แบบประเมินคุณลักษณะ
321

                                        ใบความรู้ ที่ 10
                            เรื่อง กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ
                                              ้        ่
                              ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10

1. กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ
               ้         ่
 ในชีวตประจาวันเรามักจะพบปั ญหาเกี่ยวกับการนับจานวนวิธีท้ งหมดที่เหตุการณ์
        ิ                                                     ั
อย่างใดอย่างหนึ่งจะเป็ นไปได้ หรื อจานวนวิธีในการจัดชุดของสิ่ งต่าง ๆ เช่น การจัดการแข่งขัน
กีฬา การจัดชุดเสื้ อผ้า การจัดชุดอาหาร เป็ นต้น การคานวณเพื่อหาคาตอบสาหรับปั ญหาประเภท
ต่าง ๆ ดังกล่าว จะทาได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ วขึ้นถ้าเข้าใจกฎเกณฑ์บางข้อซึ่ งเรี ยกว่า หลักมูลฐาน
เกี่ยวกับการนับ

            กฎข้ อที่ 1 ถ้าต้องการทางานสองอย่างโดยที่งานอย่างแรกทาได้ n1 วิธี และในแต่ละ
วิธีที่เลือกทางานอย่างแรกนี้ มีวธีที่จะทางานที่สองได้ n2 วิธี จะทางานทั้งสองอย่างนี้
                                 ิ
ได้ n1  n2 วิธี

                                      ่                          ่
ตัวอย่างที่ 1 นายดามีเสื้ อ 2 ตัว สี ตางกัน และกางเกง 3 ตัว สี ตางกัน จงหาจานวนวิธี
              ทั้งหมดที่นายดาสวมเสื้ อและกางเกงเป็ นชุดต่าง ๆ กัน
    วิธีทา นายดามีวธีเลือกสวมเสื้ อได้
                        ิ                        2 วิธี
              และเลือกสวมกางเกงได้               3 วิธี

              นายดามีวธีสวมเสื้ อและกางเกงเป็ นชุดต่าง ๆ กันได้ 2  3 = 6 วิธี
                       ิ
322

    หรื ออาจจะใช้แผนภาพต้นไม้ในการหาคาตอบได้ดงนี้
                                             ั

                      เสื้อ                                 กางเกง              ผลลัพธ์
                                                            กๅ                  (ส1 , ก1)
                          ส1                                ก2                  (ส1 , ก2)
                                                            ก3                  (ส1 , ก3)
                                                            กๅ                  (ส2 , ก1)
                          ส2                                ก2                  (ส2 , ก2)
                                                            ก3                  (ส2 , ก3)

    จากแผนภาพต้นไม้ จะได้วา  ่
       จานวนวิธีท้ งหมดที่นายดาเลือกสวมเสื้ อและกางเกงเป็ นชุดต่าง ๆ กันเท่ากับ 6 วิธี
                   ั

ตัวอย่างที่ 2 นายวัฒนาทาข้อสอบ 5 ข้อ แต่ละข้อมีตวเลือก 4 ตัวเลือก จงหาว่า
                                                     ั
              นายวัฒนาจะมีวธีทาข้อสอบดังกล่าวได้ท้ งหมดกี่วธี
                           ิ                       ั       ิ
    วิธีทา นายวัฒนาเลือกทาข้อสอบได้                    5 วิธี
              นายวัฒนาเลือกตัวเลือกในข้อสอบแต่ละข้อได้ 4 วิธี
               นายวัฒนามีวธีทาข้อสอบได้ท้ งหมด 5  4 = 20 วิธี
                              ิ             ั

ตัวอย่างที่ 3 ถ้ามีถนนเชื่อมระหว่างเมือง ก. และเมือง ข. 4 สาย และถนนเชื่อมจากเมือง ค.
การเดินทางจากเมือง ก. ไปยังเมือง ค. โดยให้ผานเมือง ข. จะทาได้กี่วธี
                                              ่                   ิ
                     วิธีทา การเดินทางจากเมือง ก. ไปยังเมือง ข. ทาได้ 4 ทาง
  การเดินทางจากเมือง ข. ไปยังเมือง                            ค. ทาได้ 5 ทาง
                                    ทางที่ 1                         ทางที่ 1
        ทางที่ 2
เมือง ก.       ทางที่ 2                                เมือง ข.      ทางที่ 3        เมือง ค.
                               ทางที่ 3        ทางที่ 4
                               ทางที่ 4         ทางที่ 5
                                                   ่
ดังนั้น การเดินทางจากเมือง ก. ไปยังเมือง ค. โดยให้ผานเมือง ข. จะทาได้ (4).(5) = 20 วิธี
323

ตัวอย่าง 4 ร้านค้าแห่งหนึ่ง ต้องการจัดโชว์เสื้ อกีฬาทุกขนากและทุกสี ถ้ามีเสื้ อ 3 ขนาด และแต่
ละขนาดมี 2 สี คือ สี ขาวกับสี แดง จะต้องจัดอย่างไร
                     วิธีทา ใช้แผนภาพต้นไม้ช่วยในการคิด ดังนี้
  สมมติให้                             S           แทนเสื้ อขนาดเล็ก หรื อเบอร์ S
                                       M           แทนเสื้ อขนาดกลาง หรื อเบอร์ M
                                       L           แทนเสื้ อขนาดใหญ่ หรื อเบอร์ L
                                       ข. แทนเสื้ อสี ขาว
   ด. แทนเสื้ อสี แดง
        การจัดเสื้อให้ ครบทุกขนากและทุกสี แสดงด้ วยแผนภาพต้ นไม้ ดังนี้

                                      ข : เสื้ อเบอร์ S สี ขาว
                 S
                                      ด : เสื้ อเบอร์ S สี แดง

  ข                                      : เสื้ อเบอร์ M สี ขาว
                M
                                      ด : เสื้ อเบอร์ M สี แดง

  ข                                      : เสื้ อเบอร์ L สี ขาว
                L
                                      ด : เสื้ อเบอร์ L สี แดง

จากแผนภาพ พบว่า จะต้องจัดเสื้ อแต่ละขนาดให้ครบทั้ง 2 สี ได้ 6 แบบ ซึ่ งเท่ากับผล
คูณของจานวนขนาดของเสื้ อ คูณด้วยจานวนสี ของเสื้ อ หรื อ เท่ากับ 3  2  6
324

                                     แบบฝึ กทักษะที่ 10
                           เรื่อง กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ
                                             ้        ่
                             ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10

          ชื่อ…………………………………………..ชั้ น………………..เลขที่…….

คาชี้แจง
1. ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์
        ั

ข้ อที่                           คาถาม                             คาตอบ
   1 มีเลขโดด 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 นาเลขโดด
        เหล่านี้มาสร้างจานวนที่มีสองหลักได้กี่จานวน
   2 จงหาจานวนวิธีท้ งหมดในการทาข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
                           ั
        จานวน 10 ข้อ
   3 มีนก 3 ตัว และต้นไม้ใหญ่ 4 ต้น จงหาจานวนวิธีที่นก 3
        ตัว บินไปเกาะต้นไม้ 5 ต้นนี้
   4 ห้องประชุมห้องหนึ่งมีประตูเข้า -ออก 8 ประตู ผูเ้ ข้าประชุม
        แต่ละคนจะมีวธีเดินเข้า-ออกห้องประชุมแห่งนี้โดยออกไม่
                        ิ
        ซ้ าประตูเดิมได้กี่วธี
                             ิ
   5 ในการจับฉลากเพื่อหยิบรายชื่อนักเรี ยนที่มีอยู่ 100 คน เข้า
        รับรางวัลที่ 1, 2 และ 3 ตามลาดับ จงหาจานวนวิธีที่จะ
        เกิดขึ้นทั้งหมด
325

2. มีถนนจากกรุ งเทพ ฯ ถึงลพบุรี 3 สาย และมีถนนจากลพบุรีถึงนครราชสี มา 4 สาย ถ้าจะขับ
รถยนต์ จากกรุ งเทพ ฯ ถึงนครราชสี มา โดยขับผ่านจังหวัดลพบุรี จะใช้เส้นทางที่ต่างกันได้
ทั้งหมดกี่เส้นทาง เขียนแผนภาพแสดงการเดินทางเพื่อประกอบคาตอบด้วย
326

                                   เฉลยแบบฝึ กทักษะที่ 10
                           เรื่อง กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ
                                             ้        ่
                             ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10

          ชื่อ…………………………………………..ชั้ น………………..เลขที่…….

คาชี้แจง
1. ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์
        ั

ข้ อที่                           คาถาม                              คาตอบ
   1 มีเลขโดด 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 นาเลขโดด      90 จานวน
        เหล่านี้มาสร้างจานวนที่มีสองหลักได้กี่จานวน
   2 จงหาจานวนวิธีท้ งหมดในการทาข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก
                           ั                                         40 วิธี
        จานวน 10 ข้อ
   3 มีนก 3 ตัว และต้นไม้ใหญ่ 4 ต้น จงหาจานวนวิธีที่นก 3             25 วิธี
        ตัว บินไปเกาะต้นไม้ 5 ต้นนี้
   4 ห้องประชุมห้องหนึ่งมีประตูเข้า -ออก 8 ประตู ผูเ้ ข้าประชุม      56 วิธี
        แต่ละคนจะมีวธีเดินเข้า-ออกห้องประชุมแห่งนี้โดยออกไม่
                        ิ
        ซ้ าประตูเดิมได้กี่วธี
                             ิ
   5 ในการจับฉลากเพื่อหยิบรายชื่อนักเรี ยนที่มีอยู่ 100 คน เข้า      30 วิธี
        รับรางวัลที่ 1, 2 และ 3 ตามลาดับ จงหาจานวนวิธีที่จะ
        เกิดขึ้นทั้งหมด
327

2. มีถนนจากกรุ งเทพ ฯ ถึงลพบุรี 3 สาย และมีถนนจากลพบุรีถึงนครราชสี มา 4 สาย ถ้าจะขับ
รถยนต์ จากกรุ งเทพ ฯ ถึงนครราชสี มา โดยขับผ่านจังหวัดลพบุรี จะใช้เส้นทางที่ต่างกันได้
ทั้งหมดกี่เส้นทาง เขียนแผนภาพแสดงการเดินทางเพื่อประกอบคาตอบด้วย

            วิธีทา เลือกเส้นทางจากกรุ งเทพ ฯ ถึง ลพบุรี ได้ 3 วิธี
 เลือกเส้นทางจากลพบุรี ถึง นครราชสี มา ได้ 4 วิธี
                              จะได้ท้งหมด 3  4  12 วิธี
                                        ั
 ดังนั้น ถ้าจะขับรถยนต์จากกรุ งเทพ ฯ ถึง นครราชสี มา โดยขับผ่านจังหวัดลพบุรี จะใช้
เส้นทางต่างกันได้ท้ งหมด 12 เส้นทาง
                    ั
            แสดงแผนภาพการเดินทางได้ ดังนี้

                                                                 น1
    น                                                              2
                                 ล1                              น3
    น                                                              4



    น                                                              1
    น                                                              2
        กรุ งเทพ ฯ              ล2                               น3
                                                                 น4

                                                                 น1
                                                                 น2
                                ล3                               น3
    น                                                              4




        กาหนด ล : ลพบุรี และ น               : นครราชสี มา
328

                              แบบประเมินด้ านความรู้
                          ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10
                                        รายการประเมิน                      รวม    ระดับ
ที่        ชื่อสกุล         ความถูกต้อง     วิธีการ       องค์ประกอบ   (9 คะแนน) คุณภาพ
                            (3 คะแนน) (3 คะแนน) (3 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19

           เกณฑ์การให้คะแนน                           เกณฑ์การประเมินผล
3 หมายถึง ดีมาก                        คะแนนรวม 7 - 9 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก
2 หมายถึง ดี                           คะแนนรวม 4 - 6 หมายถึง ระดับคุณภาพดี
1 หมายถึง พอใช้                        คะแนนรวม 1 - 3 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้
329

                                   ตัวชี้วดการประเมินด้ านความรู้
                                          ั
ตัวชี้วดการประเมินด้ านความรู้ : ความถูกต้ อง
       ั
   คะแนน/
                                       ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                                  ่
 ความหมาย
   3 ดีมาก คิดคานวณหรื อเสนอรู ปแบบวิธีการหาคาตอบได้อย่างถูกต้องแม่นยา
      2 ดี     คานวณหรื อวิธีการหาคาตอบถูกต้อง
   1 พอใช้ การคิดคานวณมีขอผิดพลาดบางส่ วน
                                 ้

ตัวชี้วดการประเมินด้ านความรู้ : วิธีการ
       ั
   คะแนน/
                                       ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                                ่
 ความหมาย
   3 ดีมาก แสดงวิธีการหรื อการหาเหตุผล สนับสนุนการหาคาตอบได้ครบถ้วนสมบูรณ์
      2 ดี     แสดงวิธีการหรื อการหาเหตุผล สนับสนุนการหาคาตอบได้บางส่ วน
   1 พอใช้ แสดงเหตุผล สนับสนุนการหาคาตอบได้เล็กน้อย

ตัวชี้วดการประเมินด้ านความรู้ : องค์ ประกอบ
       ั
   คะแนน/
                                      ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                               ่
 ความหมาย
   3 ดีมาก มีองค์ประกอบของชิ้นงานครบถ้วน 3 รายการ(รู ปแบบรายงาน ความถูกต้อง ชัดเจนในการ
               เขียนหรื อพิมพ์ การจัดรู ปเล่มรู ปแบบ)
      2 ดี     มีองค์ประกอบของชิ้นงานไม่นอยกว่า 2 รายการ
                                                ้
   1 พอใช้ ไม่มีองค์ประกอบของชิ้นงาน
330

                         แบบประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ
                          ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10
                                    รายการประเมิน                    รวม     ระดับ
                        การแก้ปัญหา      การให้    การสื่ อสาร   (12 คะแนน) คุณภาพ
ที่       ชื่อสกุล
                         (4 คะแนน)       เหตุผล    (4 คะแนน)
                                       (4 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18

           เกณฑ์การให้คะแนน                         เกณฑ์การประเมินผล
3 หมายถึง ดีมาก                        คะแนนรวม 9 - 12 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก
2 หมายถึง ดี                           คะแนนรวม 5 - 8 หมายถึง ระดับคุณภาพดี
1 หมายถึง พอใช้                        คะแนนรวม 1 - 4 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้
331

                            เกณฑ์ การประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ
  เกณฑ์ การประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ: การแก้ปัญหา
 คะแนน/
                                   ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                               ่
ความหมาย
 4 ดีมาก ใช้ยทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาสาเร็ จ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อธิ บายถึงเหตุผลในการใช้
                  ุ
            วิธีการดังกล่าวได้เข้าใจชัดเจน
    3 ดี    ใช้ยทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาสาเร็ จ แต่น่าจะอธิ บายถึงเหตุผลในการใช้วธีการดังกล่าวได้
                    ุ                                                            ิ
            ดีกว่านี้
 2 พอใช้ มียทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหา สาเร็ จเพียงบางส่ วน อธิบายถึงเหตุผลในการใช้วธีการ
                ุ                                                                     ิ
            ดังกล่าวได้บางส่ วน
  1 ต้อง    มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปัญหาบางส่ วน เริ่ มคิดว่าทาไมจึงต้องใช้วธีการนั้นแล้วหยุด
                                                                             ิ
 ปรับปรุ ง อธิ บายต่อไม่ได้ แก้ปัญหาไม่สาเร็ จ
   0 ไม่    ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์ขางต้นหรื อไม่มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปัญหา
                               ้
 พยายาม

  เกณฑ์ การประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ: การให้ เหตุผล
 คะแนน/
                                   ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                            ่
ความหมาย
 4 ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสิ้ นใจอย่างสมเหตุสมผล
    3 ดี    มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่ วน และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสิ นใจ
 2 พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสิ นใจ
  1 ต้อง    มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสิ นใจ
 ปรับปรุ ง
   0 ไม่    ไม่มีแนวคิดประกอบการตัดสิ นใจ
 พยายาม
332

  เกณฑ์ การประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ: การสื่ อสาร การสื่ อความหมายทางคณิตศาสตร์
 คะแนน/
                                ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                              ่
ความหมาย
 4 ดีมาก ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ที่ถูกต้อง นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรื อตาราง
            แสดงข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอน เป็ นระบบ กระชับ ชัดเจน มีรายละเอียดสมบูรณ์
    3 ดี    ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรื อตารางแสดง
            ข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอน ได้ถูกต้อง ขาดรายละเอียดที่สมบูรณ์
 2 พอใช้ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ พยายามนาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรื อตามราง
            แสดงข้อมูลประกอบชัดเจนบางส่ วน
  1 ต้อง    ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ อย่างง่าย ๆ ไม่ได้ใช้กราฟ แผนภูมิหรื อตารางเลย
 ปรับปรุ ง การนาเสนอไม่ชดเจนั
   0 ไม่    ไม่นาเสนอ
 พยายาม
333

                             แบบประเมินด้ านคุณลักษณะ
                          ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10
                                      รายการประเมิน                   รวม   ระดับ
ที่     ชื่อสกุล    มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินย ทางานเป็ นระบบ (9 คะแนน) คุณภาพ
                                                   ั
                       (3 คะแนน)        (3 คะแนน)           (3 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19

          เกณฑ์การให้คะแนน                         เกณฑ์การประเมินผล
 3 หมายถึง ดีมาก                  คะแนนรวม 7 - 9 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก
 2 หมายถึง ดี                     คะแนนรวม 4 - 6 หมายถึง ระดับคุณภาพดี
 1 หมายถึง พอใช้                  คะแนนรวม 1 - 3 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้
334

                               ตัวชี้วดการประเมินด้ านคุณลักษณะ
                                      ั
 ตัวชี้วดการประเมินด้ านคุณลักษณะ: มีความรับผิดชอบ
         ั
 คะแนน/
                                      ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                                   ่
ความหมาย
               ส่ งงานก่อนหรื อตรงกาหนดเวลานัดหมาย
 3 ดีมาก       รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบติเองจนเป็ นนิสัย เป็ นระบบ
                                                             ั
                   และแนะนาชักชวนให้ผอื่นปฏิบติ
                                           ู้    ั
               ส่ งงานช้ากว่ากาหนด แต่ไม่มีการติดต่อชี้แจงครู ผสอน มีเหตุผลรับฟังได้
                                                                ู้
    2 ดี
               รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบติเองจนเป็ นนิสัย
                                                           ั
               ส่ งงานช้ากว่ากาหนด
 1 พอใช้
               ปฏิบติงานโดยต้องอาศัยการชี้แนะ แนะนา ตักเตือนหรื อให้กาลังใจ
                        ั

 ตัวชี้วดการประเมินด้ านคุณลักษณะ: มีระเบียบวินัย
         ั
 คะแนน/
                                     ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                              ่
ความหมาย
               สมุดงาน ชิ้นงาน สะอาดเรี ยบร้อย
 3 ดีมาก
               ปฏิบติตนเอยูในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันทุกครั้ง
                        ั          ่
               สมุดงาน ชิ้นงาน ส่ วนใหญ่สะอาดเรี ยบร้อย
    2 ดี
               ปฏิบติตนอยูในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันเป็ นส่ วนใหญ่
                          ั    ่
               สมุดงาน ชิ้นงาน ไม่ค่อยเรี ยบร้อย
 1 พอใช้
               ปฏิบติตนอยูในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันเป็ นบางครั้ง ต้องอาศัยการแนะนา
                            ั    ่
335

 เกณฑ์ การประเมินด้ านคุณลักษณะ: ทางานเป็ นระบบ รอบคอบ
 คะแนน/
                                 ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น
                                                              ่
ความหมาย
                     มีการวางแผนการดาเนินงานเป็ นระบบ
  3 ดีมาก            การทางานมีครบทุกขั้นตอน ตัดขั้นตอนที่ไม่สาคัญออก
                     จัดเรี ยงลาดับความสาคัญก่อนหลัง ถูกต้องครบถ้วน
                     มีการวางแผนการดาเนินงาน
    2 ดี             การทางานไม่ครบทุกขั้นตอน และผิดพลางบ้าง
                     จัดเรี ยงลาดับความสาคัญก่อนหลัง ได้เป็ นส่ วนใหญ่
                     ไม่มีการวางแผนการดาเนินงาน
  1 พอใช้            การทางานไม่มีข้ นตอน มีความผิดพลาดต้องแก้ไข
                                       ั
                     ไม่จดเรี ยงลาดับความสาคัญ
                           ั
336

                               แบบบันทึกความพึงพอใจ
                        เรื่อง กฏเกณฑ์ เกียวกับการนับเบืองต้ น
                                          ่             ้
                          ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10

                                         ระดับความพึงพอใจ
นักเรียน
           น้ อยทีสุด
                  ่             น้ อย         ปานกลาง            มาก   มากทีสุด
                                                                            ่
จานวน
ร้ อยละ
การใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
        1.             ครู ผ้ ูสอนใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพียงในการเตรียมการสอน
                        หลักพอประมาณ                                               หลักมีเหตุผล                                  หลักสร้ างภูมิค้ ุมกันทีดีในตัว
                                                                                                                                                          ่
 1. วิเคราะห์หลักสู ตรและมาตรฐานการเรี ยนรู้/ตัวชี้วด 1. เพื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้เหมาะสมกับวัย
                                                        ั                                                            1. ศึกษาหาความรู ้ในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับ
2. การเตรี ยมสื่ อ อุปกรณ์ ประกอบการจัดการเรี ยน             ของผูเ้ รี ยน                                           บทบาทสมมุติของนักเรี ยนในระดับนี้
การสอน ให้มีความเพียงพอ เหมาะสมกับนักเรี ยนและ 2. เพื่อให้การจัดการเรี ยนรู้ของครู บรรลุตาม                          2. การเตรี ยมความพร้อมของตนเอง และการ
จานวนกลุ่ม                                                   วัตถุประสงค์                                            เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ที่ไม่คาดหมาย
3. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้เพียงพอ            3. ให้นกเรี ยนมีองค์ความรู้ตามมาตรฐานการ
                                                                        ั                                            3. การเตรี ยมแผนสารองในกรณี ที่ไม่สามารถจัด
4. จัดเตรี ยมสถานที่ให้เหมาะสมกับกิจกรรม และ                 เรี ยนรู ้และตัวชี้วด (KPA)
                                                                                 ั                                   กิจกรรมตามแผนได้
มีความกว้างขวางเหมาะสมกับจานวนกลุ่ม                          4. เพื่อให้นกเรี ยนนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน 4. จัดเตรี ยม สถานที่และเวลา เผือสาหรับการ
                                                                           ั                                                                            ่
5. วิเคราะห์ผเู ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลเกี่ยวกับความ            ชีวตประจาวัน
                                                                  ิ                                                  จัดการเรี ยนรู ้ที่อาจไม่เป็ นไปตามแผนที่กาหนด
ต้องการธรรมชาติ ความสนใจและความรู้                                                                                   5. สามารถนาปัญหาที่พบไปพัฒนาแผนการ
ความสามารถ                                                                                                           จัดการเรี ยนรู้ได้
                                            ความรู้                                                                         คุณธรรม
1. มีความรู ้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน, หลักสู ตร, มาตรฐานการเรี ยนรู้ 1. มีความรับผิดชอบในการจัดเตรี ยมกิจกรรมและเตรี ยมสื่ อต่าง ๆ อย่างถูกต้อง
และจิตวิทยาของการเรี ยนการสอน                                                             2. มีความรอบคอบในการดูแลให้นกเรี ยนร่ วมกิจกรรมทุกคน
                                                                                                                             ั
2. มีความรู ้ดานเนื้อหาวิชาของหน่วยการเรี ยนรู ้
               ้                                                                          3. เป็ นแบบอย่างที่ดีในด้านการประหยัด และตรงต่อเวลา
3. ใช้ความระมัดระวังและรอบคอบในการจัดการเรี ยนการสอน
2. ครู ผ้ ูสอนใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรุ้
         3 ห่วง              ความพอประมาณ                      ความมีเหตุผล                        มีภูมิคุมกันที่ดี
                                                                                                           ้
                               (เหมาะสม)                         (ทาไม)                   (วางแผน/รอบคอบ/คาดการณ์
ประเด็น                                                                                          ล่วงหน้า/ป้ องกัน)
เวลา              กาหนดเวลาที่ใช้เวลาเหมาะสมกับ สามารถจัดกิจกรรมการ วางแผนการใช้เวลาในการทากิจกรรม
                  เนื้อหากิจกรรม วัยของผูเ้ รี ยน และ เรี ยนรู้ได้ตามเวลาที่       ไว้เกินจริ งเล็กน้อย เพื่อป้ องกันปั ญหา
                  ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย             กาหนด                        เรื่ องเวลาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ทาให้ใช้
                                                                                   เวลาพอเพียงกับคาบเรี ยนที่กาหนด
                                                                                   ไม่ปล่อยนักเรี ยนช้า นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้
                                                                                   อย่างเต็มที่ ครบกิจกรรมที่วางแผนไว้
เนื้อหา           ออกแบบการเรี ยนรู้ โดยการ           ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ - เนื้อหาเรี ยงลาดับจากง่ายไปยากทา
                  วิเคราะห์หลักสู ตร มาตรฐาน          สอดคล้องกับมาตรฐาน ให้ผเู้ รี ยนสามารถทาความเข้าใจได้
                  กาหนดผลการเรี ยนรู ้เหมาะสมกับ ผลการเรี ยนรู ้ที่กาหนด ง่าย
                  เวลาและวัยของผูเ้ รี ยน             ไว้ในหลักสู ตร               - มีความรอบรู ้ในเนื้อหาที่สอน
สื่ อ/อุปกรณ์ - เตรี ยมสื่ อ อุปกรณ์และเอกสาร ใช้สื่ออุปกรณ์ได้คุมค่า - จัดเตรี ยมสื่ ออุปกรณ์ได้พร้อมก่อน
                                                                           ้
                                 ั
                  ต่าง ๆ พอดีกบจานวนนักเรี ยน         และเกิดผลที่ดีต่อการ         การจัดการเรี ยนรู้
                  - สื่ อ/อุปกรณ์เหมาะสมกับ           เรี ยนรู้ของนักเรี ยน        - มีการกาหนดลาดับขั้นตอนการใช้
                  กิจกรรมเนื้อหา เวลาและวัยของ                                     สื่ อ/อุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างเป็ นลาดับ
                  ผูเ้ รี ยน                                                       ชัดเจน
                                                                                   - จัดเก็บอุปกรณ์อย่างเป็ นระเบียบ
                                                                                   - ครู มีความชานาญในการใช้สื่อ
                                                                                   อุปกรณ์
                                                                                                                       ่
                                                                                   - อุปกรณ์ผลิตขึ้นจากวัสดุที่มีอยูใกล้
                                                                                   ตัว หาง่าย ราคาไม่แพง
แหล่งเรี ยนรู ้ กาหนดแหล่งเรี ยนรู ้เหมาะสมกับ นักเรี ยนสามารใช้แหล่ง -จัดทา/เตรี ยมเว็บไซต์ที่เป็ นแหล่ง
                  เนื้อหากิจกรรม เวลาที่กาหนดมี       เรี ยนรู้ในการศึกษา          เรี ยนรู ้ไว้ให้พร้อมก่อนการใช้ พร้อม
                  จานวนเพียงพอสาหรับนักเรี ยนได้ ค้นคว้าเพิ่มเติม และเพื่อ ทั้งหาวิธีการป้ องกันปั ญหาที่อาจจะ
                  ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมทั้งในและ      การเรี ยนรู ้ล่วงหน้าก่อน เกิดขึ้นจากการใช้แหล่งเรี ยนรู ้น้ น ั
                  นอกเวลาเรี ยน                       การเรี ยน ทาให้การเรี ยน - เลือกใช้แหล่งเรี ยนรู ้ที่ปลอดภัย
                                                      มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น สาหรับนักเรี ยน
339

      3 ห่วง           ความพอประมาณ                      ความมีเหตุผล                            มีภูมิคุมกันที่ดี
                                                                                                         ้
                         (เหมาะสม)                         (ทาไม)                      (วางแผน/รอบคอบ/คาดการณ์
ประเด็น                                                                                        ล่วงหน้า/ป้ องกัน)
การจัด         - แบ่งกลุ่มผูเ้ รี ยนได้เหมาะสมกับ -ผูเ้ รี ยนได้ปฏิบติ    ั       - กาหนดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ได้อย่าง
กิจกรรม        จานวนนักเรี ยน                        กิจกรรมทุกคนอย่าง            ชัดเจน เป็ นลาดับขั้นตอน จากง่ายไป
               - กาหนดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ได้        ทัวถึง มีโอกาสได้
                                                       ่                          หายาก และสามารถใช้สอนแทนได้
               เหมาะสมกับเวลา                        ประสบความสาเร็ จตาม - ครู มีความรอบรู้ในเรื่ องที่สอน และ
                                                     ความแตกต่างระหว่าง รอบคอบในการออกแบบกิจกรรมการ
                                                     บุคคล                        เรี ยนรู้ จึงทาให้การเรี ยนการสอน
                                                     -ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ เป็ นไปอยอ่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                     อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                     บรรลุตามจุดประสงค์
                                                     การเรี ยนรู ้ที่ต้ งไว้
                                                                        ั
การวัดและ      วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของ มีการออกแบบเครื่ องมือ - วางแผนการวัดและประเมินผลอย่าง
ประเมินผล      ผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการที่หลากหลาย      การวัดและประเมินผลที่ เป็ นขั้นตอน และชัดเจน
               เหมาะสม และสอดคล้อองกับการ สอดคล้องกับเนื้อหาที่ - แบบประเมินมีการตรวจสอบ หา
               จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เนื้อหา เวลา ต้องการให้ผเู้ รี ยนบรรลุ คุณภาพ และปรับปรุ ง มีความ
               ผลการเรี ยนรู้ และสภาพการ             มาตรฐานการเรี ยนรู้และ เที่ยงตรง และความเชื่อมันในการวัด   ่
               ปฏิบติงานของนักเรี ยน
                        ั                            ตัวชี้วดที่กาหนดไว้
                                                               ั                  และประเมินผลการเรี ยนรู้
เงื่อนไข       1. มีความรู ้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน, หลักสู ตร, มาตรฐานการเรี ยนรู้ , ตัวชี้วดและจิตวิทยา
                                                                                                             ั
ความรู้        ของการเรี ยนการสอน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
               2. มีความรู ้ดานเนื้อหาวิชาของหน่วยการเรี ยนรู ้
                                ้
               3. ใช้ความระมัดระวังและรอบคอบในการจัดการเรี ยนการสอน
เงื่อนไง       1. มีความรับผิดชอบในการจัดเตรี ยมกิจกรรมและเตรี ยมสื่ อต่าง ๆ อย่างถูกต้อง
คุณธรรม        2. มีความรอบคอบในการดูแลให้นกเรี ยนร่ วมกิจกรรมทุกคน
                                                   ั
               3. เป็ นแบบอย่างที่ดีในด้านการประหยัด และตรงต่อเวลา
               4. มีความอดทน ความอุตสาหะ ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความรักและความเมตตาต่อศิษย์
               และความรักศรัทธาต่อวิชาชีพ
340

            3. ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่ างพอเพียง
         ความพอประมาณ                        ความมีเหตุผล               มีภูมิค้ ุมกันในตัวทีดี
                                                                                             ่
- นักเรี ยนสามารถแบ่งหน้าที่ - นักเรี ยนสามารถทางานที่            - นักเรี ยนสามารถนาความรู้ที่
การทางานของสมาชิกภายใน ได้รับมอบหมายจากลุ่มได้                    ได้ในการทากิจกรรมในคาบนี้
กลุ่มเหมาะสมกับ                   อย่างได้อย่างบรรลุผล            ไปใช้เป็ นพื้นฐานในการเรี ยน
ความสามารถและศักยภาพของ - นักเรี ยนสามารถวางแผนการ                หัวข้อต่อไป
แต่ละบุคคล                        ทางานในกลุ่มได้                 - การฝึ กการทางานที่เป็ นระบบ
- นักเรี ยนสามารถทางานได้         - นักเรี ยนได้ฝึกการวาง         จะช่วยให้นกเรี ยนนาความรู ้
                                                                               ั
อย่างพอเหมาะกับเวลาที่            แผนการทางานและทาตาม             และประสบการณ์ที่ได้รับจา
กาหนด                             แผนการทางานที่วางไว้ได้         การทางานไปปรับใช้ใน
- รู ้จกกฎการนับเบื้องต้น
       ั                          - ใช้กฎการนับเบื้องต้น แซม      ชีวตประจาวันได้อย่าง
                                                                      ิ
แซมเปิ ลสเปซ เหตุการณ์และ เปิ ลสเปซ เหตุการณ์และความ              เหมาะสมในอนาคต
ความน่าจะเป็ นของ                 น่าจะเป็ น ใช้ในสถานการณ์       - นาความรู ้เกี่ยวกับกฎการนับ
สถานการณ์ต่าง ๆ                   ต่าง ๆ ได้ถูกต้อง               เบื้องต้น แซมเปิ ลสเปซ
                                  - แก้ปัญหาในการทางานให้         เหตุการณ์และความน่าจะเป็ น
                                  สาเร็ จตามเป้ าหมาย             ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
                                                                  -ปรับตัวในการทางานกับ
                                                                  เพื่อนพร้อมรับการ
                                                                  เปลี่ยนแปลงในสังคม
ความรู้                        มีความรู ้เกี่ยวกับกฎการนับเบื้องต้น แซมเปิ ลสเปซ เหตุการณ์และ
                               ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่าง ๆ
คุณธรรม                        - ความร่ วมมือในการทากิจกรรม
                               - ไม่เห็นแก่ตว มีน้ าใจ เอื้ออาทร ให้ความช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่ม
                                                ั
                               - มีความมุ่งมันในการทางาน
                                                  ่
                               - มีจิตอาสา
                               - นักเรี ยนมีวนยในการเรี ยน ตรงต่อเวลา ขยันและอดทนในการ
                                               ิ ั
                               ปฏิบติกิจกรรม ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความรับผิดชอบ มีความสามัคคีใน
                                      ั
                               หมู่คณะ
341

                  4. ผลลัพธ์ (K P A) 4 มิติทเี่ กียวข้ องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สมดุล และ
                                                     ่
        พร้ อมรับการเปลียนแปลงด้ านต่ าง ๆ
                           ่
              ด้าน                      ่
                                     อยูอย่างพอเพียง สมดุล และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
การประเมิน                   วัตถุ/เศรษฐกิจ                สังคม            สิ่ งแวดล้อม     วัฒนธรรม
ความรู้              มีความรู้ในการ                 1. มีความรู้ในการ มีความรู้ในการ มีความรู้ในการ
                     เลือกใช้วสดุ    ั              วางแผนการทางาน รักษาสิ่ งแวดล้อม ทักทายตาม
                     อุปกรณ์ให้คุมค่า     ้         เป็ นกลุ่ม         ใกล้ตว    ั       ประเพณี ไทย
                     และประหยัด                     2. มีความรู้ในการ
                                                    อภิปรายเนื้อหาได้
                                                    อย่างถูกต้อง
ทักษะ                1. มีทกษะในการใช้ 1. การให้เหตุผล มีทกษะในการ สามารถทักทาย
                               ั                                            ั
                     วัสดุ อุปกรณ์อย่าง             2. ทักษะการ        รักษาสิ่ งแวดล้อม ได้อย่างถูกต้อง
                     ประหยัดและ                     แก้ปัญหา           ใกล้ตว      ั     และสวยงาม
                     คุมค่า
                       ้                            3. การสื่ อสาร
                     2. การเลือกใช้วสดุ     ั
                     อุปกรณ์ได้อย่าง
                     เหมาะสม
คุณลักษณะ            มีความตระหนัก                  1. ความรับผิดชอบ ตระหนักถึง          ทักทายด้วยความ
                     ในการนาวัสดุ                   2. มีระเบียบวินย ความสาคัญของ จริ งใจ สวยงาม
                                                                    ั
                     อุปกรณ์มาใช้ใน                 3. ทางานเป็ น      สิ่ งแวดล้อม      สม่าเสมอ และ
                     การปฏิบติงานให้
                                   ั                ระบบรอบคอบ                           เห็นคุณค่าของ
                     คุมค่า
                         ้                                                               ประเพณี การ
                                                                                         ทักทายแบบไทย
342

                                                         ความเห็นและข้ อเสนอแนะ
ความเห็นของหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................



                                                 (นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ)
                                              หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์

ความเห็นของหัวหน้ ากลุ่มบริหารวิชาการ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

                                                  ........................................................
                                                    (นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ)
                                                                       ครู คศ.2

ความเห็นของผู้บังคับบัญชา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

                                                  ......................................................
                                                        (นายนิเวศน์ เนินทอง)
                                              ผูอานวยการโรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม
                                                ้
343

                                                          บันทึกผลหลังการสอน
                                                         แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10

ผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

                                               .....................................................ผูสอน
                                                                                                      ้
                                                     (นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ)
                                                               ........./............/.........
344

                                                            บันทึกการนิเทศ
                                                      หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................




                                              ลงชื่อ...........................................ผูนิเทศ
                                                                                                 ้
                                                         (นายนิเวศน์ เนินทอง)
                                              ผูอานวยการโรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม
                                                ้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกkroojaja
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกkunkrooyim
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 

Mais procurados (20)

แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอก
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวก
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan seriesseelopa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 (20)

Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan series
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 

Mais de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Mais de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ 3 รหัสวิชา ค32101 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ความน่ าจะเป็ น เรื่อง กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ เวลา 1 ชั่วโมง ้ ่ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคัญ ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์บ่งบอกถึงโอกาสที่เหตุการณ์น้ นเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใด ั 2. สาระที่ 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น 3. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ ิ ได้อย่างสมเหตุสมผล มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อความหมายทางคณิ ตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ ั และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ 4. ตัวชี้วดั ค 5.2 ม.4-6/2 อธิ บายการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ ความน่เป็จะของเหตุการณ์ และนาผลที่ได้ าน ไปใช้คาดการณ์ในสถานการณ์ที่กาหนดให้ ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย ทางคณิ ตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยง ั คณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ 5. จุดประสงค์ การเรียนรู้ นาทาง ด้ านความรู้ แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้ อย่างง่ายได้ ด้ านทักษะ/กระบวนการ 1. การให้เหตุผล 2. ทักษะการแก้ปัญหา 3. การสื่ อสาร
  • 2. 316 ด้ านคุณลักษณะ 1. ความรับผิดชอบ 2. มีระเบียบวินย ั 3. ทางานเป็ นระบบรอบคอบ 6. สมรรถนะ 1) ความสามารถในการสื่ อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) ซื่อสัตย์สุจริ ต 2) มีวนย ิ ั 3) ใฝ่ เรี ยนรู้ 4) มุ่งมันในการทางาน ่ 5) รักความเป็ นไทย 8. สาระการเรียนรู้ 1. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 ถ้าต้องการทางานสองอย่างโดยที่งานอย่างแรกทาได้ n1 วิธี และ ในแต่ละวิธีที่เลือกทางานอย่างแรกนี้มีวธีทางานอย่างที่สองได้ n2 วิธี ิ จานวนวิธีที่จะเลือกทางานทั้งสองอย่างเท่ากับ n1n2 วิธี 9. การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ นาหลักความน่าจะเป็ นมาใช้ในการคาดการณ์ กาหนดสิ่ งต่าง ๆ อย่างพอประมาณ ไม่ มากเกินไปหรื อน้อยเกินไป 2. ความมีเหตุผล รู ้จกนาความรู ้เรื่ อง ความน่าจะเป็ นไปใช้ในการประมาณ คาดการณ์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่าง ั มีเหตุผล และตัดสิ นใจกระทาสิ่ งต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลและหลักความน่าจะเป็ น
  • 3. 317 3. การมีภูมิค้ ุมกันในตัวทีดี ่ มีความตะหนักถึงความสาคัญของการคาดการณ์ สิ่ งที่จะเกิดขึ้น เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มี โอกาสจะเกิดขึ้นทั้งหมด สามารถนามาคิดคานวณล่วงหน้าได้ และวางแผน เตรี ยมการ ความพร้อม ไว้ได้ 4. เงื่อนไขความรู้ รู ้จกนาความรู ้เรื่ องความน่าจะเป็ นไปใช้คาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นได้ ทราบเหตุการณ์ที่ ั มีโอกาสที่จะเกิดขึ้น รู ้จกการนับจานวนวิธีท้ งหมดที่เหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเป็ นไปได้ หรื อ ั ั จานวนวิธีในการจัดชุดสิ่ งของต่าง ๆ เช่น การจัดการแข่งขันกีฬา การจัดชุดเสื้ อผ้า เป็ นต้น 5. เงื่อนไขคุณธรรม นาหลักการการความน่าจะเป็ นไปใช้อย่างมีคุณธรรม ซื่ อสัตย์ ประหยัด และอดทน จัด เหตุการณ์ หรื อวิธีการอย่างเที่ยงตรง ยุติธรรม 10. ภาระงาน แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้ อย่างง่ายได้ 11. กระบวนการเรียนรู้ รู ปแบบการสอนแบบซิปป้ า (CIPPA MODEL) ครู แจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 10 เมื่อนักเรี ยนเรี ยนจบแล้ว นักเรี ยนจะต้องสามารถ แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้ อย่างง่ายได้ 1. ขั้นทบทวนความรู้ เดิม 1. ครู สนทนากับนักเรี ยนทบทวนความรู ้เกี่ยวกับผลคูณคาร์ ทีเชียนโดยใช้การถาม – ตอบ พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ดังนี้ กาหนดให้ A = {a, b, c} , n(A) = 3 B = {x, y} , n(B) = 2 A  B = {(a, x), (a, y), (b, x), (b, y), (c, x), (c, y)} n(A  B) = 6  n(A  B) = n(A)  n(B) เลือกสมาชิกในเซต A ครั้งละตัวได้ 3 วิธี เลือกสมาชิกในเซต B ครั้งละตัว ได้ 2 วิธี ดังนั้นจานวนวิธีท้ งหมดที่จะเลือกสมาชิกในเซต A แล้วเลือกสมาชิกในเซต B เท่ากับ ั 3  2 = 6 วิธี ซึ่ งอาจเขียนแผนภาพต้นไม้ช่วยในการคิดได้ดงนี้ ั
  • 4. 318 A B ผลลัพธ์ x (a, x) a y (a, y) x (b, x) b y (b, y) x (c, x) c y (c, y) 2. ขั้นแสวงหาความรู้ ใหม่ 2.1 ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน โดยแต่ละกลุ่มคละความสามารถ ั ให้มีนกเรี ยนกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อนอยูดวยกัน ั ่ ้ 2.2 ครู เขียนโจทย์บนกระดาน แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันหาคาตอบ ดังนี้ ั 1. นักเรี ยนมีกางเกง 2 ตัว คือ กางเกงขาสั้นและกางเกงขายาว และมีเสื้ อ 3 ตัว คือ เสื้ อสี แดง, สี เขียว และสี ขาว จงหาวิธีที่นกเรี ยนจะเลือกเสื้ อและกางเกงมาใส่ เป็ นชุดที่ ั แตกต่างกัน 2. นักเรี ยนคนหนึ่งเดินทางจากบ้านไปโรงเรี ยนโดยรถประจาทางได้ 4 สาย และ เดินทางจากโรงเรี ยนกลับบ้านโดยรถประจาทางได้ 3 สาย จงหาว่านักเรี ยนคนนี้เดินทางไป โรงเรี ยนและกลับบ้านในแต่ละวันได้กี่วธี ิ 3. ขั้นทาความเข้ าใจข้ อมูลใหม่ /เชื่ อมโยงความรู้ เดิม ครู ให้นกเรี ยนตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมารับใบความรู ้ที่ 10 แล้วร่ วมกันอภิปราย ั เกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 โดยครู เดินดูและตอบปัญหาของนักเรี ยน อย่างใกล้ชิด 4. ขั้นแลกเปลียนความรู้ กบเพือนในกลุ่ม ่ ั ่ 4.1 ให้นกเรี ยนแต่ละคนนาเสนอความรู ้ได้ในกลุ่มของตนเอง โดยสรุ ป กฎเกณฑ์ ั เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 ให้เพื่อนฟัง 4.2 ให้นกเรี ยนสนทนาและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ภายในกลุ่มแล้วช่วยกันสรุ ปความหมาย ั ของกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 เป็ นความรู ้ของกลุ่มตนเอง
  • 5. 319 5. สรุ ปและจัดระเบียบความรู้ 5.1 สุ่ มตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน 5.2 ครู นาสนทนา อภิปราย แล้วช่วยกันสรุ ป กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 เป็ นความรู้ของห้องเรี ยน 6. ขั้นแสดงผลงาน 6.1 นาผลงานที่สรุ ปเป็ นความรู ้ของชั้นเรี ยน สรุ ปให้นกเรี ยนได้เข้าใจตรงกัน ั อีกครั้งหนึ่ง โดยครู ช่วยเสริ มในส่ วนที่ยงไม่สมบูรณ์ ั 6.2 นาผลงานของห้องเรี ยนมาติดบอร์ดเพื่อแสดงผลงาน 7. ประยุกต์ ใช้ ความรู้ 7.1 ครู แจกแบบฝึ กทักษะที่ 10 ให้นกเรี ยนแต่ละคนได้ลงมือฝึ กปฏิบติ เพื่อทดสอบ ั ั ความรู้ความเข้าใจของนักเรี ยน 7.2 ครู ให้นกเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจคาตอบตามแบบเฉลยแบบฝึ กทักษะที่ 10 ั และครู บนทึกผลคะแนนที่ได้ ั 12. สื่ อและอุปกรณ์ การเรียนรู้ 1. ใบความรู้ที่ 10 2. แบบฝึ กทักษะที่ 10 3. เฉลยแบบฝึ กทักษะที่ 10 13. แหล่ งการเรียนรู้ เพิมเติม ่ 1. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ 2. ห้องสมุดโรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม 3. ห้องคอมพิวเตอร์ 14. การวัดและประเมินผล 1. สิ่ งที่ตองการวัด ้ 1.1 ด้านความรู้ 1.2 ด้านทักษะ 1.3 ด้านคุณลักษณะ 2. เครื่ องมือที่ใช้วดั 2.1 แบบประเมินความรู้ 2.2 แบบประเมินทักษะ
  • 6. 320 2.3 แบบประเมินคุณลักษณะ 3. วิธีวด ั 3.1 ตรวจผลงาน 3.2 สังเกตพฤติกรรมและตรวจผลงาน 3.3 สังเกตพฤติกรรม 4. เกณฑ์การประเมิน 4.1 นักเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75 ่ 4.2 นักเรี ยนมีทกษะทางคณิ ตศาสตร์ ผานเกณฑ์ ร้อยละ 75 ั 4.3 นักเรี ยนมีคุณลักษณะผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 75 15. หลักฐานการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ที่ 10 2. แบบฝึ กทักษะที่ 10 3. แบบประเมินด้านความรู้ 4. แบบประเมินทักษะ 5. แบบประเมินคุณลักษณะ
  • 7. 321 ใบความรู้ ที่ 10 เรื่อง กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ ้ ่ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 1. กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ ้ ่ ในชีวตประจาวันเรามักจะพบปั ญหาเกี่ยวกับการนับจานวนวิธีท้ งหมดที่เหตุการณ์ ิ ั อย่างใดอย่างหนึ่งจะเป็ นไปได้ หรื อจานวนวิธีในการจัดชุดของสิ่ งต่าง ๆ เช่น การจัดการแข่งขัน กีฬา การจัดชุดเสื้ อผ้า การจัดชุดอาหาร เป็ นต้น การคานวณเพื่อหาคาตอบสาหรับปั ญหาประเภท ต่าง ๆ ดังกล่าว จะทาได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ วขึ้นถ้าเข้าใจกฎเกณฑ์บางข้อซึ่ งเรี ยกว่า หลักมูลฐาน เกี่ยวกับการนับ กฎข้ อที่ 1 ถ้าต้องการทางานสองอย่างโดยที่งานอย่างแรกทาได้ n1 วิธี และในแต่ละ วิธีที่เลือกทางานอย่างแรกนี้ มีวธีที่จะทางานที่สองได้ n2 วิธี จะทางานทั้งสองอย่างนี้ ิ ได้ n1  n2 วิธี ่ ่ ตัวอย่างที่ 1 นายดามีเสื้ อ 2 ตัว สี ตางกัน และกางเกง 3 ตัว สี ตางกัน จงหาจานวนวิธี ทั้งหมดที่นายดาสวมเสื้ อและกางเกงเป็ นชุดต่าง ๆ กัน วิธีทา นายดามีวธีเลือกสวมเสื้ อได้ ิ 2 วิธี และเลือกสวมกางเกงได้ 3 วิธี  นายดามีวธีสวมเสื้ อและกางเกงเป็ นชุดต่าง ๆ กันได้ 2  3 = 6 วิธี ิ
  • 8. 322 หรื ออาจจะใช้แผนภาพต้นไม้ในการหาคาตอบได้ดงนี้ ั เสื้อ กางเกง ผลลัพธ์ กๅ (ส1 , ก1) ส1 ก2 (ส1 , ก2) ก3 (ส1 , ก3) กๅ (ส2 , ก1) ส2 ก2 (ส2 , ก2) ก3 (ส2 , ก3) จากแผนภาพต้นไม้ จะได้วา ่ จานวนวิธีท้ งหมดที่นายดาเลือกสวมเสื้ อและกางเกงเป็ นชุดต่าง ๆ กันเท่ากับ 6 วิธี ั ตัวอย่างที่ 2 นายวัฒนาทาข้อสอบ 5 ข้อ แต่ละข้อมีตวเลือก 4 ตัวเลือก จงหาว่า ั นายวัฒนาจะมีวธีทาข้อสอบดังกล่าวได้ท้ งหมดกี่วธี ิ ั ิ วิธีทา นายวัฒนาเลือกทาข้อสอบได้ 5 วิธี นายวัฒนาเลือกตัวเลือกในข้อสอบแต่ละข้อได้ 4 วิธี  นายวัฒนามีวธีทาข้อสอบได้ท้ งหมด 5  4 = 20 วิธี ิ ั ตัวอย่างที่ 3 ถ้ามีถนนเชื่อมระหว่างเมือง ก. และเมือง ข. 4 สาย และถนนเชื่อมจากเมือง ค. การเดินทางจากเมือง ก. ไปยังเมือง ค. โดยให้ผานเมือง ข. จะทาได้กี่วธี ่ ิ วิธีทา การเดินทางจากเมือง ก. ไปยังเมือง ข. ทาได้ 4 ทาง การเดินทางจากเมือง ข. ไปยังเมือง ค. ทาได้ 5 ทาง ทางที่ 1 ทางที่ 1 ทางที่ 2 เมือง ก. ทางที่ 2 เมือง ข. ทางที่ 3 เมือง ค. ทางที่ 3 ทางที่ 4 ทางที่ 4 ทางที่ 5 ่ ดังนั้น การเดินทางจากเมือง ก. ไปยังเมือง ค. โดยให้ผานเมือง ข. จะทาได้ (4).(5) = 20 วิธี
  • 9. 323 ตัวอย่าง 4 ร้านค้าแห่งหนึ่ง ต้องการจัดโชว์เสื้ อกีฬาทุกขนากและทุกสี ถ้ามีเสื้ อ 3 ขนาด และแต่ ละขนาดมี 2 สี คือ สี ขาวกับสี แดง จะต้องจัดอย่างไร วิธีทา ใช้แผนภาพต้นไม้ช่วยในการคิด ดังนี้ สมมติให้ S แทนเสื้ อขนาดเล็ก หรื อเบอร์ S M แทนเสื้ อขนาดกลาง หรื อเบอร์ M L แทนเสื้ อขนาดใหญ่ หรื อเบอร์ L ข. แทนเสื้ อสี ขาว ด. แทนเสื้ อสี แดง การจัดเสื้อให้ ครบทุกขนากและทุกสี แสดงด้ วยแผนภาพต้ นไม้ ดังนี้ ข : เสื้ อเบอร์ S สี ขาว S ด : เสื้ อเบอร์ S สี แดง ข : เสื้ อเบอร์ M สี ขาว M ด : เสื้ อเบอร์ M สี แดง ข : เสื้ อเบอร์ L สี ขาว L ด : เสื้ อเบอร์ L สี แดง จากแผนภาพ พบว่า จะต้องจัดเสื้ อแต่ละขนาดให้ครบทั้ง 2 สี ได้ 6 แบบ ซึ่ งเท่ากับผล คูณของจานวนขนาดของเสื้ อ คูณด้วยจานวนสี ของเสื้ อ หรื อ เท่ากับ 3  2  6
  • 10. 324 แบบฝึ กทักษะที่ 10 เรื่อง กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ ้ ่ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 ชื่อ…………………………………………..ชั้ น………………..เลขที่……. คาชี้แจง 1. ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์ ั ข้ อที่ คาถาม คาตอบ 1 มีเลขโดด 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 นาเลขโดด เหล่านี้มาสร้างจานวนที่มีสองหลักได้กี่จานวน 2 จงหาจานวนวิธีท้ งหมดในการทาข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก ั จานวน 10 ข้อ 3 มีนก 3 ตัว และต้นไม้ใหญ่ 4 ต้น จงหาจานวนวิธีที่นก 3 ตัว บินไปเกาะต้นไม้ 5 ต้นนี้ 4 ห้องประชุมห้องหนึ่งมีประตูเข้า -ออก 8 ประตู ผูเ้ ข้าประชุม แต่ละคนจะมีวธีเดินเข้า-ออกห้องประชุมแห่งนี้โดยออกไม่ ิ ซ้ าประตูเดิมได้กี่วธี ิ 5 ในการจับฉลากเพื่อหยิบรายชื่อนักเรี ยนที่มีอยู่ 100 คน เข้า รับรางวัลที่ 1, 2 และ 3 ตามลาดับ จงหาจานวนวิธีที่จะ เกิดขึ้นทั้งหมด
  • 11. 325 2. มีถนนจากกรุ งเทพ ฯ ถึงลพบุรี 3 สาย และมีถนนจากลพบุรีถึงนครราชสี มา 4 สาย ถ้าจะขับ รถยนต์ จากกรุ งเทพ ฯ ถึงนครราชสี มา โดยขับผ่านจังหวัดลพบุรี จะใช้เส้นทางที่ต่างกันได้ ทั้งหมดกี่เส้นทาง เขียนแผนภาพแสดงการเดินทางเพื่อประกอบคาตอบด้วย
  • 12. 326 เฉลยแบบฝึ กทักษะที่ 10 เรื่อง กฎเกณฑ์ เบืองต้ นเกียวกับการนับ ้ ่ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 ชื่อ…………………………………………..ชั้ น………………..เลขที่……. คาชี้แจง 1. ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์ ั ข้ อที่ คาถาม คาตอบ 1 มีเลขโดด 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 นาเลขโดด 90 จานวน เหล่านี้มาสร้างจานวนที่มีสองหลักได้กี่จานวน 2 จงหาจานวนวิธีท้ งหมดในการทาข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก ั 40 วิธี จานวน 10 ข้อ 3 มีนก 3 ตัว และต้นไม้ใหญ่ 4 ต้น จงหาจานวนวิธีที่นก 3 25 วิธี ตัว บินไปเกาะต้นไม้ 5 ต้นนี้ 4 ห้องประชุมห้องหนึ่งมีประตูเข้า -ออก 8 ประตู ผูเ้ ข้าประชุม 56 วิธี แต่ละคนจะมีวธีเดินเข้า-ออกห้องประชุมแห่งนี้โดยออกไม่ ิ ซ้ าประตูเดิมได้กี่วธี ิ 5 ในการจับฉลากเพื่อหยิบรายชื่อนักเรี ยนที่มีอยู่ 100 คน เข้า 30 วิธี รับรางวัลที่ 1, 2 และ 3 ตามลาดับ จงหาจานวนวิธีที่จะ เกิดขึ้นทั้งหมด
  • 13. 327 2. มีถนนจากกรุ งเทพ ฯ ถึงลพบุรี 3 สาย และมีถนนจากลพบุรีถึงนครราชสี มา 4 สาย ถ้าจะขับ รถยนต์ จากกรุ งเทพ ฯ ถึงนครราชสี มา โดยขับผ่านจังหวัดลพบุรี จะใช้เส้นทางที่ต่างกันได้ ทั้งหมดกี่เส้นทาง เขียนแผนภาพแสดงการเดินทางเพื่อประกอบคาตอบด้วย วิธีทา เลือกเส้นทางจากกรุ งเทพ ฯ ถึง ลพบุรี ได้ 3 วิธี เลือกเส้นทางจากลพบุรี ถึง นครราชสี มา ได้ 4 วิธี  จะได้ท้งหมด 3  4  12 วิธี ั ดังนั้น ถ้าจะขับรถยนต์จากกรุ งเทพ ฯ ถึง นครราชสี มา โดยขับผ่านจังหวัดลพบุรี จะใช้ เส้นทางต่างกันได้ท้ งหมด 12 เส้นทาง ั แสดงแผนภาพการเดินทางได้ ดังนี้ น1 น 2 ล1 น3 น 4 น 1 น 2 กรุ งเทพ ฯ ล2 น3 น4 น1 น2 ล3 น3 น 4 กาหนด ล : ลพบุรี และ น : นครราชสี มา
  • 14. 328 แบบประเมินด้ านความรู้ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 รายการประเมิน รวม ระดับ ที่ ชื่อสกุล ความถูกต้อง วิธีการ องค์ประกอบ (9 คะแนน) คุณภาพ (3 คะแนน) (3 คะแนน) (3 คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมินผล 3 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 7 - 9 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก 2 หมายถึง ดี คะแนนรวม 4 - 6 หมายถึง ระดับคุณภาพดี 1 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 1 - 3 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้
  • 15. 329 ตัวชี้วดการประเมินด้ านความรู้ ั ตัวชี้วดการประเมินด้ านความรู้ : ความถูกต้ อง ั คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย 3 ดีมาก คิดคานวณหรื อเสนอรู ปแบบวิธีการหาคาตอบได้อย่างถูกต้องแม่นยา 2 ดี คานวณหรื อวิธีการหาคาตอบถูกต้อง 1 พอใช้ การคิดคานวณมีขอผิดพลาดบางส่ วน ้ ตัวชี้วดการประเมินด้ านความรู้ : วิธีการ ั คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย 3 ดีมาก แสดงวิธีการหรื อการหาเหตุผล สนับสนุนการหาคาตอบได้ครบถ้วนสมบูรณ์ 2 ดี แสดงวิธีการหรื อการหาเหตุผล สนับสนุนการหาคาตอบได้บางส่ วน 1 พอใช้ แสดงเหตุผล สนับสนุนการหาคาตอบได้เล็กน้อย ตัวชี้วดการประเมินด้ านความรู้ : องค์ ประกอบ ั คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย 3 ดีมาก มีองค์ประกอบของชิ้นงานครบถ้วน 3 รายการ(รู ปแบบรายงาน ความถูกต้อง ชัดเจนในการ เขียนหรื อพิมพ์ การจัดรู ปเล่มรู ปแบบ) 2 ดี มีองค์ประกอบของชิ้นงานไม่นอยกว่า 2 รายการ ้ 1 พอใช้ ไม่มีองค์ประกอบของชิ้นงาน
  • 16. 330 แบบประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 รายการประเมิน รวม ระดับ การแก้ปัญหา การให้ การสื่ อสาร (12 คะแนน) คุณภาพ ที่ ชื่อสกุล (4 คะแนน) เหตุผล (4 คะแนน) (4 คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมินผล 3 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 9 - 12 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก 2 หมายถึง ดี คะแนนรวม 5 - 8 หมายถึง ระดับคุณภาพดี 1 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 1 - 4 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้
  • 17. 331 เกณฑ์ การประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ เกณฑ์ การประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ: การแก้ปัญหา คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย 4 ดีมาก ใช้ยทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาสาเร็ จ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อธิ บายถึงเหตุผลในการใช้ ุ วิธีการดังกล่าวได้เข้าใจชัดเจน 3 ดี ใช้ยทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาสาเร็ จ แต่น่าจะอธิ บายถึงเหตุผลในการใช้วธีการดังกล่าวได้ ุ ิ ดีกว่านี้ 2 พอใช้ มียทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหา สาเร็ จเพียงบางส่ วน อธิบายถึงเหตุผลในการใช้วธีการ ุ ิ ดังกล่าวได้บางส่ วน 1 ต้อง มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปัญหาบางส่ วน เริ่ มคิดว่าทาไมจึงต้องใช้วธีการนั้นแล้วหยุด ิ ปรับปรุ ง อธิ บายต่อไม่ได้ แก้ปัญหาไม่สาเร็ จ 0 ไม่ ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์ขางต้นหรื อไม่มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปัญหา ้ พยายาม เกณฑ์ การประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ: การให้ เหตุผล คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย 4 ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสิ้ นใจอย่างสมเหตุสมผล 3 ดี มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่ วน และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสิ นใจ 2 พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสิ นใจ 1 ต้อง มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสิ นใจ ปรับปรุ ง 0 ไม่ ไม่มีแนวคิดประกอบการตัดสิ นใจ พยายาม
  • 18. 332 เกณฑ์ การประเมินด้ านทักษะ/กระบวนการ: การสื่ อสาร การสื่ อความหมายทางคณิตศาสตร์ คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย 4 ดีมาก ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ที่ถูกต้อง นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรื อตาราง แสดงข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอน เป็ นระบบ กระชับ ชัดเจน มีรายละเอียดสมบูรณ์ 3 ดี ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรื อตารางแสดง ข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอน ได้ถูกต้อง ขาดรายละเอียดที่สมบูรณ์ 2 พอใช้ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ พยายามนาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรื อตามราง แสดงข้อมูลประกอบชัดเจนบางส่ วน 1 ต้อง ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ อย่างง่าย ๆ ไม่ได้ใช้กราฟ แผนภูมิหรื อตารางเลย ปรับปรุ ง การนาเสนอไม่ชดเจนั 0 ไม่ ไม่นาเสนอ พยายาม
  • 19. 333 แบบประเมินด้ านคุณลักษณะ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 รายการประเมิน รวม ระดับ ที่ ชื่อสกุล มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินย ทางานเป็ นระบบ (9 คะแนน) คุณภาพ ั (3 คะแนน) (3 คะแนน) (3 คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมินผล 3 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 7 - 9 หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก 2 หมายถึง ดี คะแนนรวม 4 - 6 หมายถึง ระดับคุณภาพดี 1 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 1 - 3 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้
  • 20. 334 ตัวชี้วดการประเมินด้ านคุณลักษณะ ั ตัวชี้วดการประเมินด้ านคุณลักษณะ: มีความรับผิดชอบ ั คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย  ส่ งงานก่อนหรื อตรงกาหนดเวลานัดหมาย 3 ดีมาก  รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบติเองจนเป็ นนิสัย เป็ นระบบ ั และแนะนาชักชวนให้ผอื่นปฏิบติ ู้ ั  ส่ งงานช้ากว่ากาหนด แต่ไม่มีการติดต่อชี้แจงครู ผสอน มีเหตุผลรับฟังได้ ู้ 2 ดี  รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบติเองจนเป็ นนิสัย ั  ส่ งงานช้ากว่ากาหนด 1 พอใช้  ปฏิบติงานโดยต้องอาศัยการชี้แนะ แนะนา ตักเตือนหรื อให้กาลังใจ ั ตัวชี้วดการประเมินด้ านคุณลักษณะ: มีระเบียบวินัย ั คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย  สมุดงาน ชิ้นงาน สะอาดเรี ยบร้อย 3 ดีมาก  ปฏิบติตนเอยูในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันทุกครั้ง ั ่  สมุดงาน ชิ้นงาน ส่ วนใหญ่สะอาดเรี ยบร้อย 2 ดี  ปฏิบติตนอยูในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันเป็ นส่ วนใหญ่ ั ่  สมุดงาน ชิ้นงาน ไม่ค่อยเรี ยบร้อย 1 พอใช้  ปฏิบติตนอยูในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันเป็ นบางครั้ง ต้องอาศัยการแนะนา ั ่
  • 21. 335 เกณฑ์ การประเมินด้ านคุณลักษณะ: ทางานเป็ นระบบ รอบคอบ คะแนน/ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีปรากฏให้ เห็น ่ ความหมาย  มีการวางแผนการดาเนินงานเป็ นระบบ 3 ดีมาก  การทางานมีครบทุกขั้นตอน ตัดขั้นตอนที่ไม่สาคัญออก  จัดเรี ยงลาดับความสาคัญก่อนหลัง ถูกต้องครบถ้วน  มีการวางแผนการดาเนินงาน 2 ดี  การทางานไม่ครบทุกขั้นตอน และผิดพลางบ้าง  จัดเรี ยงลาดับความสาคัญก่อนหลัง ได้เป็ นส่ วนใหญ่  ไม่มีการวางแผนการดาเนินงาน 1 พอใช้  การทางานไม่มีข้ นตอน มีความผิดพลาดต้องแก้ไข ั  ไม่จดเรี ยงลาดับความสาคัญ ั
  • 22. 336 แบบบันทึกความพึงพอใจ เรื่อง กฏเกณฑ์ เกียวกับการนับเบืองต้ น ่ ้ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 ระดับความพึงพอใจ นักเรียน น้ อยทีสุด ่ น้ อย ปานกลาง มาก มากทีสุด ่ จานวน ร้ อยละ
  • 23. การใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ครู ผ้ ูสอนใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพียงในการเตรียมการสอน หลักพอประมาณ หลักมีเหตุผล หลักสร้ างภูมิค้ ุมกันทีดีในตัว ่ 1. วิเคราะห์หลักสู ตรและมาตรฐานการเรี ยนรู้/ตัวชี้วด 1. เพื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้เหมาะสมกับวัย ั 1. ศึกษาหาความรู ้ในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับ 2. การเตรี ยมสื่ อ อุปกรณ์ ประกอบการจัดการเรี ยน ของผูเ้ รี ยน บทบาทสมมุติของนักเรี ยนในระดับนี้ การสอน ให้มีความเพียงพอ เหมาะสมกับนักเรี ยนและ 2. เพื่อให้การจัดการเรี ยนรู้ของครู บรรลุตาม 2. การเตรี ยมความพร้อมของตนเอง และการ จานวนกลุ่ม วัตถุประสงค์ เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ที่ไม่คาดหมาย 3. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้เพียงพอ 3. ให้นกเรี ยนมีองค์ความรู้ตามมาตรฐานการ ั 3. การเตรี ยมแผนสารองในกรณี ที่ไม่สามารถจัด 4. จัดเตรี ยมสถานที่ให้เหมาะสมกับกิจกรรม และ เรี ยนรู ้และตัวชี้วด (KPA) ั กิจกรรมตามแผนได้ มีความกว้างขวางเหมาะสมกับจานวนกลุ่ม 4. เพื่อให้นกเรี ยนนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน 4. จัดเตรี ยม สถานที่และเวลา เผือสาหรับการ ั ่ 5. วิเคราะห์ผเู ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลเกี่ยวกับความ ชีวตประจาวัน ิ จัดการเรี ยนรู ้ที่อาจไม่เป็ นไปตามแผนที่กาหนด ต้องการธรรมชาติ ความสนใจและความรู้ 5. สามารถนาปัญหาที่พบไปพัฒนาแผนการ ความสามารถ จัดการเรี ยนรู้ได้ ความรู้ คุณธรรม 1. มีความรู ้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน, หลักสู ตร, มาตรฐานการเรี ยนรู้ 1. มีความรับผิดชอบในการจัดเตรี ยมกิจกรรมและเตรี ยมสื่ อต่าง ๆ อย่างถูกต้อง และจิตวิทยาของการเรี ยนการสอน 2. มีความรอบคอบในการดูแลให้นกเรี ยนร่ วมกิจกรรมทุกคน ั 2. มีความรู ้ดานเนื้อหาวิชาของหน่วยการเรี ยนรู ้ ้ 3. เป็ นแบบอย่างที่ดีในด้านการประหยัด และตรงต่อเวลา 3. ใช้ความระมัดระวังและรอบคอบในการจัดการเรี ยนการสอน
  • 24. 2. ครู ผ้ ูสอนใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรุ้ 3 ห่วง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุมกันที่ดี ้ (เหมาะสม) (ทาไม) (วางแผน/รอบคอบ/คาดการณ์ ประเด็น ล่วงหน้า/ป้ องกัน) เวลา กาหนดเวลาที่ใช้เวลาเหมาะสมกับ สามารถจัดกิจกรรมการ วางแผนการใช้เวลาในการทากิจกรรม เนื้อหากิจกรรม วัยของผูเ้ รี ยน และ เรี ยนรู้ได้ตามเวลาที่ ไว้เกินจริ งเล็กน้อย เพื่อป้ องกันปั ญหา ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย กาหนด เรื่ องเวลาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ทาให้ใช้ เวลาพอเพียงกับคาบเรี ยนที่กาหนด ไม่ปล่อยนักเรี ยนช้า นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้ อย่างเต็มที่ ครบกิจกรรมที่วางแผนไว้ เนื้อหา ออกแบบการเรี ยนรู้ โดยการ ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ - เนื้อหาเรี ยงลาดับจากง่ายไปยากทา วิเคราะห์หลักสู ตร มาตรฐาน สอดคล้องกับมาตรฐาน ให้ผเู้ รี ยนสามารถทาความเข้าใจได้ กาหนดผลการเรี ยนรู ้เหมาะสมกับ ผลการเรี ยนรู ้ที่กาหนด ง่าย เวลาและวัยของผูเ้ รี ยน ไว้ในหลักสู ตร - มีความรอบรู ้ในเนื้อหาที่สอน สื่ อ/อุปกรณ์ - เตรี ยมสื่ อ อุปกรณ์และเอกสาร ใช้สื่ออุปกรณ์ได้คุมค่า - จัดเตรี ยมสื่ ออุปกรณ์ได้พร้อมก่อน ้ ั ต่าง ๆ พอดีกบจานวนนักเรี ยน และเกิดผลที่ดีต่อการ การจัดการเรี ยนรู้ - สื่ อ/อุปกรณ์เหมาะสมกับ เรี ยนรู้ของนักเรี ยน - มีการกาหนดลาดับขั้นตอนการใช้ กิจกรรมเนื้อหา เวลาและวัยของ สื่ อ/อุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างเป็ นลาดับ ผูเ้ รี ยน ชัดเจน - จัดเก็บอุปกรณ์อย่างเป็ นระเบียบ - ครู มีความชานาญในการใช้สื่อ อุปกรณ์ ่ - อุปกรณ์ผลิตขึ้นจากวัสดุที่มีอยูใกล้ ตัว หาง่าย ราคาไม่แพง แหล่งเรี ยนรู ้ กาหนดแหล่งเรี ยนรู ้เหมาะสมกับ นักเรี ยนสามารใช้แหล่ง -จัดทา/เตรี ยมเว็บไซต์ที่เป็ นแหล่ง เนื้อหากิจกรรม เวลาที่กาหนดมี เรี ยนรู้ในการศึกษา เรี ยนรู ้ไว้ให้พร้อมก่อนการใช้ พร้อม จานวนเพียงพอสาหรับนักเรี ยนได้ ค้นคว้าเพิ่มเติม และเพื่อ ทั้งหาวิธีการป้ องกันปั ญหาที่อาจจะ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมทั้งในและ การเรี ยนรู ้ล่วงหน้าก่อน เกิดขึ้นจากการใช้แหล่งเรี ยนรู ้น้ น ั นอกเวลาเรี ยน การเรี ยน ทาให้การเรี ยน - เลือกใช้แหล่งเรี ยนรู ้ที่ปลอดภัย มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น สาหรับนักเรี ยน
  • 25. 339 3 ห่วง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุมกันที่ดี ้ (เหมาะสม) (ทาไม) (วางแผน/รอบคอบ/คาดการณ์ ประเด็น ล่วงหน้า/ป้ องกัน) การจัด - แบ่งกลุ่มผูเ้ รี ยนได้เหมาะสมกับ -ผูเ้ รี ยนได้ปฏิบติ ั - กาหนดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ได้อย่าง กิจกรรม จานวนนักเรี ยน กิจกรรมทุกคนอย่าง ชัดเจน เป็ นลาดับขั้นตอน จากง่ายไป - กาหนดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ได้ ทัวถึง มีโอกาสได้ ่ หายาก และสามารถใช้สอนแทนได้ เหมาะสมกับเวลา ประสบความสาเร็ จตาม - ครู มีความรอบรู้ในเรื่ องที่สอน และ ความแตกต่างระหว่าง รอบคอบในการออกแบบกิจกรรมการ บุคคล เรี ยนรู้ จึงทาให้การเรี ยนการสอน -ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ เป็ นไปอยอ่างมีประสิ ทธิ ภาพ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ บรรลุตามจุดประสงค์ การเรี ยนรู ้ที่ต้ งไว้ ั การวัดและ วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของ มีการออกแบบเครื่ องมือ - วางแผนการวัดและประเมินผลอย่าง ประเมินผล ผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการที่หลากหลาย การวัดและประเมินผลที่ เป็ นขั้นตอน และชัดเจน เหมาะสม และสอดคล้อองกับการ สอดคล้องกับเนื้อหาที่ - แบบประเมินมีการตรวจสอบ หา จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เนื้อหา เวลา ต้องการให้ผเู้ รี ยนบรรลุ คุณภาพ และปรับปรุ ง มีความ ผลการเรี ยนรู้ และสภาพการ มาตรฐานการเรี ยนรู้และ เที่ยงตรง และความเชื่อมันในการวัด ่ ปฏิบติงานของนักเรี ยน ั ตัวชี้วดที่กาหนดไว้ ั และประเมินผลการเรี ยนรู้ เงื่อนไข 1. มีความรู ้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน, หลักสู ตร, มาตรฐานการเรี ยนรู้ , ตัวชี้วดและจิตวิทยา ั ความรู้ ของการเรี ยนการสอน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู ้ดานเนื้อหาวิชาของหน่วยการเรี ยนรู ้ ้ 3. ใช้ความระมัดระวังและรอบคอบในการจัดการเรี ยนการสอน เงื่อนไง 1. มีความรับผิดชอบในการจัดเตรี ยมกิจกรรมและเตรี ยมสื่ อต่าง ๆ อย่างถูกต้อง คุณธรรม 2. มีความรอบคอบในการดูแลให้นกเรี ยนร่ วมกิจกรรมทุกคน ั 3. เป็ นแบบอย่างที่ดีในด้านการประหยัด และตรงต่อเวลา 4. มีความอดทน ความอุตสาหะ ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความรักและความเมตตาต่อศิษย์ และความรักศรัทธาต่อวิชาชีพ
  • 26. 340 3. ผู้เรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่ างพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิค้ ุมกันในตัวทีดี ่ - นักเรี ยนสามารถแบ่งหน้าที่ - นักเรี ยนสามารถทางานที่ - นักเรี ยนสามารถนาความรู้ที่ การทางานของสมาชิกภายใน ได้รับมอบหมายจากลุ่มได้ ได้ในการทากิจกรรมในคาบนี้ กลุ่มเหมาะสมกับ อย่างได้อย่างบรรลุผล ไปใช้เป็ นพื้นฐานในการเรี ยน ความสามารถและศักยภาพของ - นักเรี ยนสามารถวางแผนการ หัวข้อต่อไป แต่ละบุคคล ทางานในกลุ่มได้ - การฝึ กการทางานที่เป็ นระบบ - นักเรี ยนสามารถทางานได้ - นักเรี ยนได้ฝึกการวาง จะช่วยให้นกเรี ยนนาความรู ้ ั อย่างพอเหมาะกับเวลาที่ แผนการทางานและทาตาม และประสบการณ์ที่ได้รับจา กาหนด แผนการทางานที่วางไว้ได้ การทางานไปปรับใช้ใน - รู ้จกกฎการนับเบื้องต้น ั - ใช้กฎการนับเบื้องต้น แซม ชีวตประจาวันได้อย่าง ิ แซมเปิ ลสเปซ เหตุการณ์และ เปิ ลสเปซ เหตุการณ์และความ เหมาะสมในอนาคต ความน่าจะเป็ นของ น่าจะเป็ น ใช้ในสถานการณ์ - นาความรู ้เกี่ยวกับกฎการนับ สถานการณ์ต่าง ๆ ต่าง ๆ ได้ถูกต้อง เบื้องต้น แซมเปิ ลสเปซ - แก้ปัญหาในการทางานให้ เหตุการณ์และความน่าจะเป็ น สาเร็ จตามเป้ าหมาย ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ -ปรับตัวในการทางานกับ เพื่อนพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงในสังคม ความรู้ มีความรู ้เกี่ยวกับกฎการนับเบื้องต้น แซมเปิ ลสเปซ เหตุการณ์และ ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่าง ๆ คุณธรรม - ความร่ วมมือในการทากิจกรรม - ไม่เห็นแก่ตว มีน้ าใจ เอื้ออาทร ให้ความช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่ม ั - มีความมุ่งมันในการทางาน ่ - มีจิตอาสา - นักเรี ยนมีวนยในการเรี ยน ตรงต่อเวลา ขยันและอดทนในการ ิ ั ปฏิบติกิจกรรม ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความรับผิดชอบ มีความสามัคคีใน ั หมู่คณะ
  • 27. 341 4. ผลลัพธ์ (K P A) 4 มิติทเี่ กียวข้ องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สมดุล และ ่ พร้ อมรับการเปลียนแปลงด้ านต่ าง ๆ ่ ด้าน ่ อยูอย่างพอเพียง สมดุล และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ การประเมิน วัตถุ/เศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ มีความรู้ในการ 1. มีความรู้ในการ มีความรู้ในการ มีความรู้ในการ เลือกใช้วสดุ ั วางแผนการทางาน รักษาสิ่ งแวดล้อม ทักทายตาม อุปกรณ์ให้คุมค่า ้ เป็ นกลุ่ม ใกล้ตว ั ประเพณี ไทย และประหยัด 2. มีความรู้ในการ อภิปรายเนื้อหาได้ อย่างถูกต้อง ทักษะ 1. มีทกษะในการใช้ 1. การให้เหตุผล มีทกษะในการ สามารถทักทาย ั ั วัสดุ อุปกรณ์อย่าง 2. ทักษะการ รักษาสิ่ งแวดล้อม ได้อย่างถูกต้อง ประหยัดและ แก้ปัญหา ใกล้ตว ั และสวยงาม คุมค่า ้ 3. การสื่ อสาร 2. การเลือกใช้วสดุ ั อุปกรณ์ได้อย่าง เหมาะสม คุณลักษณะ มีความตระหนัก 1. ความรับผิดชอบ ตระหนักถึง ทักทายด้วยความ ในการนาวัสดุ 2. มีระเบียบวินย ความสาคัญของ จริ งใจ สวยงาม ั อุปกรณ์มาใช้ใน 3. ทางานเป็ น สิ่ งแวดล้อม สม่าเสมอ และ การปฏิบติงานให้ ั ระบบรอบคอบ เห็นคุณค่าของ คุมค่า ้ ประเพณี การ ทักทายแบบไทย
  • 28. 342 ความเห็นและข้ อเสนอแนะ ความเห็นของหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ความเห็นของหัวหน้ ากลุ่มบริหารวิชาการ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ........................................................ (นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ) ครู คศ.2 ความเห็นของผู้บังคับบัญชา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ...................................................... (นายนิเวศน์ เนินทอง) ผูอานวยการโรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม ้
  • 29. 343 บันทึกผลหลังการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 10 ผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .....................................................ผูสอน ้ (นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ) ........./............/.........
  • 30. 344 บันทึกการนิเทศ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ...........................................ผูนิเทศ ้ (นายนิเวศน์ เนินทอง) ผูอานวยการโรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม ้