SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 24
ความตึง ผิว
Surface Tension
ความตึง ผิว (Surface Tension)
ของเหลวจะออกแรง
กระทำาในทิศตั้งฉากกับ
ผิวภาชนะที่ของเหลว
สัมผัส
ผิวหน้าของของเหลว
จะมีแรงจากของเหลว
หรือไม่
ความตึง ผิว (Surface Tension)
ผิวหน้าของของเหลวจะมีแรงจากของเหลวหรือ
ไม่
การที่ใ บมีด โกนซึ่ง มีค วามหนาแน่น มากกว่า นำ้า
หรือ จิง โจ้ล อยอยูบ นผิว นำ้า นั้น แสดงว่า ต้อ ง มี
่
แรงที่พ ยายามยึด ผิว หน้า ของนำ้า ไม่ใ ห้แ ยกออก
จากกัน แรงนี้เ รีย กว่า แรงตึง ผิว (surface
tension force)
ความตึง ผิว (Surface Tension)
ในของเหลวมีแ รงดึง ดูด ระหว่า งโมเลกุล
ของของเหลวช่ว ยยึด ให้โ มเลกุล อยู่ใ กล้
กัน
 แรงลัพ ธ์ม ีค ่า เป็น ศูน ย์

โมเลกุล ที่อ ยูบ ริเ วณใกล้ๆ ผิว
่
 แรงดึง ลงมากกว่า แรงดึง ขึ้น (แรงลัพ ธ์ม ีท ิศ
เข้า ไปในของเหลว)
 ทำา ให้ผ ิว ของของเหลวมีล ก ษณะเป็น เยือ
ั
่
ขึง ตึง (ฟิล ์ม บาง ๆ )
ความตึง ผิว (Surface Tension)
แรงตึง ผิว มีท ิศ ทางอย่า งไร

พิจ ารณา ฟิล ม ของนำ้า สบู่ (ที่ผ ิว ของฟิล ม สบู่ม ี
์
์
แรงตึง ผิว )
 แรงตึง ผิว ของของเหลวมีท ิศ ขนานกับ ผิว
ของของเหลวและตั้ง ฉากกับ เส้น ขอบที่
ของเหลวสัม ผัส
ความตึง ผิว (Surface Tension)
การลอยนำ้า ของเข็ม เย็บ ผ้า
เข็ม เย็บ ผ้า อยูบ นผิว นำ้า ได้โ ดยไม่จ มเพราะ
่
แรงตึง ผิว
องค์ป ระกอบในแนวดิ่ง ของแรงตึง ผิว มีค ่า เท่า กับ
นำ้า หนัก ของเข็ม เย็บ ผ้า พอดี
ความตึง ผิว (Surface Tension)
พิจารณา ลวดขดเป็นรูป
ตัวยู และมีเส้นลวดเบาๆ
ยาว l เลื่อนขึ้นลงได้ดัง
ภาพ
 เพือ หา ความตึง ผิว
่

F
γ =
2l

F = W1
+ W2
ความตึง ผิว (Surface Tension)
วัดความตึงผิวของของเหลวอีกวิธีหนึง ได้จาก
่
วงแหวน ดังรูป
วงแหวนรัศมี r บางมาก ๆ (รัศมีภายในกับ
γ =
ภายนอกมีค่าเท่ากัF คือ T − W
น = r)

F
4r
π
ความตึง ผิว (Surface Tension)
 ความตึงผิวของของเหลวแต่ละชนิดมีคาไม่เท่า
่
กัน
 สำาหรับของเหลวชนิดหนึ่ง
 ค่าความตึงผิวจะเปลี่ยนไปเมื่อมีสารมาเจือปน
 นำ้าเกลือ นำ้าสบู่

 อุณหภูมิเพิมขึ้นความตึงผิวของของเหลวจะลดลง
่
 เมื่ออุณหภูมิเพิมขึ้นโมเลกุลของของเหลวจะเคลื่อนที่เร็วขึน
่
้
ปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุลที่มีผลต่อการเคลื่อนที่จะน้อยลง

ทีมา :
่
hyperphysics
ความตึง ผิว (Surface Tension)
 ตาราง ความตึงผิวของของเหลวบางชนิด
ความตึง ผิว (Surface Tension)
 ตัว อย่า ง
 วงแหวนบางมากผูกด้วยเชือกวางอยู่บนผิวของเหลวชนิด
หนึ่ง วงแหวนนี้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.0 cm และมี
×
มวล 1.0 g พบว่าถ้าต้องการดึงวงแหวนให้หลุดออกจากผิว
ของเหลวพอดี ต้องออกแรงดึงเชือกขนาด 3.3 10-2 N จง
หาค่าความตึงผิวของของเหลวนี้
ผลต่างของความดันภายในและภายนอก
ฟิล์มผิว
ผิวของของเหลวมีความตึง
 ทำาให้ผิวนั้นพยายามหดตัวให้พนที่น้อยที่สุด
ื้
 หยดนำ้าหรือหยดของของเหลวที่ไม่มีแรงใดๆ กระทำา
จะเป็นรูปทรงกลม
 เพราะทรงกลมมีพนที่ผิวน้อยที่สุด
ื้
ผลต่างของความดันภายในและภายนอก
ฟิล์มผิว

แรงเนื่องจากผลต่างของความดัน
ภายในและภายนอกของครึ่งฟอง
สบู่สมดุลกับแรงตึงผิว

 ฟองสบู่อยู่ในสภาวะสมดุล แรงทั้ง 2 นี้
มีขนาดเท่ากัน

 สำาหรับหยดของเหลวมีฟล์มเพียงผิว
ิ
เดียว
ความตึง ผิว (Surface Tension)
สารทั้งหลายประกอบด้วยโมเลกุล เมื่อนำา
ของเหลวบรรจุในภาชนะ
 จะเกิดแรงระหว่างโมเลกุล (intermolecular force)
 แรงเชื่อมแน่น (cohesive force)
• แรงระหว่างโมเลกุลของของเหลวด้วยกันเอง ( โมเลกุลของสาร
ชนิดเดียวกัน)

 แรงยึดติด (adhesive force)
• แรงระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับโมเลกุลของภาชนะ
แรงเชื่อ มแน่น ระหว่า ง
(โมเลกุลต่างชนิดกัน)

แรงยึด ติด ระหว่า งโมเลกุล
โมเลกุล
แรงยึด ติ
 ่อ มแน่น ้าและปรอทลงในหลอดทดลองแยกกัน มากกว่า ) ปรอทจึด
เมื่อเทนำ
มากกว่า แรงเชื
(ผิว ปรอทโค้ง ลง
ง
(ผิว นำ้า โค้ง ขึ้น )
ไม่เ ปีย กผนัง ของหลอด
ความตึง ผิว (Surface Tension)
 ปรากฏการณ์หลอดรูเล็ก (Capillarity)
ดำา
ผลต่างของความดันภายในและภายนอก
ฟิล์มผิว
จงคำานวณหาความดันทีเพิ่มขึ้นภายในหยดปรอททีมี
่
่
= 465 mN / m
เส้นγผ่านศูนย์กลาง 4 mm เมือ
่
มุมสัมผัสและสภาพรูหลอดเล็ก
 ผิวฟิล์มที่เกิดขึ้นระหว่างผิวของแข็งกับ
ของเหลว
มุมสัมผัสและสภาพรูหลอดเล็ก
มุมสัมผัส (contact angle)
 ของเหลวจะไม่เปียกภาชนะเมือมุมสัมผัส
่
มากกว่า 900
 ของเหลวจะเปียกภาชนะเมือมุมสัมผัสน้อย
่
กว่า 900
มุมสัมผัสและสภาพรูหลอดเล็ก
สภาพคะปิลลารี(สภาพรูหลอดเล็ก)
 หลอดรูเล็ก (capillary tube)

นำ้า

ปรอท
ความหนืด (Viscosity)
 ของเหลวทุกชนิดมีความหนืด (viscosity)
 ของไหลที่มีความหนืดมาก จะมีแรงต้านการเคลื่อนที่
มาก เรียกว่า
 แรงหนืด (viscous force)

 แรงหนืดในของเหลวแต่ละชนิดมีค่าไม่เท่ากัน
ความหนืด (Viscosity)
 แรงหนืดในของเหลว นอกจากขึ้นอยู่กับชนิด
ของของเหลว จะขึ้นอยู่กับอะไรอีกบ้าง
 ปล่อยลูกกลมโลหะในของเหลว เช่น กลีเซอรอล ที่
บรรจุในกระบอกตวง
 มีแรงอะไรกระทำาต่อลูกกลมโลหะ
 แรงลอยหรือแรงพยุง
 แรงหนืด
 นำ้าหนักของลูกกลม
ความหนืด (Viscosity)
 ในช่วงต้น ๆ ของการ
เคลื่อนที่
 ลูกกลมโลหะจะเคลือนที่ด้วย
่
ความเร่ง
 มีแรงลัพธ์กระทำาต่อลูกกลม
โลหะ

 ในช่วงท้าย ๆ ของการ
เคลื่อนที่
 ลูกกลมโลหะจะเคลือนที่ด้วย
่
ความเร็วมากขึ้น
 จนความเร็วมีค่าคงตัว เรียกว่า
ความหนืด (Viscosity)
 การที่แรงลัพธ์กระทำาต่อลูก
กลมโลหะเปลี่ยนไปเกิดจาก
แรงหนืดเพียงแรงเดียว
 แรงหนืดของของเหลวใน
ช่วงแรกกับช่วงหลัง มีคาไม่
่
เท่ากัน
 ช่วงแรกลูกกลมโลหะเคลื่อน
ด้วยความเร็วน้อยกว่า
 แรงหนืดในช่วงแรกน้อยกว่า
แรงหนืดในช่วงหลัง
 แรงหนืด ของของเหลวขึ้น
กับ ความเร็ว ของวัต ถุท ี่

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
zweetiiz
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
npapak74
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนแบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
somchao
 

Mais procurados (20)

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนแบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 

Semelhante a ความตึงผิว (7)

ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
Slide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdfSlide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdf
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอน
 

ความตึงผิว